ชีวิตกับสัญญาณเตือนภัย


การเผ้าระวัง ประเมินตนเอง เดินทางสายกลาง เผชิญภัยอย่างเหมาะสม

ชีวิตประจำวัน เรามีโอกาส เจอกับทั้งเรื่องดีและเรื่องร้าย ทั้งเป็นภัยคุกคามด้านกายภาพและจิตใจ อยู่ที่ว่าเราจะไวต่อสิ่งที่จะบอกเราหรือไม่

ที่เรียกว่า สัญญาณเตือนภัย หรือ Warning sings

สัญญาณเตือนภัยคุกคามทางกายภาพ ก็เช่น สายไฟเก่า ปลั๊กไหม้  อุปกรณ์ไฟฟ้าชำหรุด เป็นต้น

สัญญาณเตือนภัยด้านจิตใจ เช่น คนข้างเคียงหงุดหงิด การขาดงาน ลาป่วยบ่อยๆ  อะไรประมาณนี้

มุมมองแต่ละคนไม่เหมือนกัน ดังนั้น การจัดการกับสัญญาณเตือนภัยไม่เหมือนกัน

สำหรับผู้เขียน คือ

  • การเฝ้าระวังและ
  • ประเมินตนเองว่าทำสิ่งนั้นได้ตามมาตรฐานหรือไม่ (เรื่องงาน)
  • ถ้าเรื่องจิตใจก็เอาใจเขามาใส่ใจเรา เดินทางสายกลาง คิดบวก ก็ต้องดูเป็นเรื่องๆดูความแตกต่างระหว่างบุคคล

ทำดีแล้วยังเกิดภัย ต้องกล้าเผชิญภัยอย่างเหมาะสม

กรณีศึกษา คนใกล้ตัวเอากระเป๋าเงินทิ้งไว้ในรถยนต์ ไม่รู้ตัวว่าถูกงัดรถ มีผู้ไม่ประสงค์ดีเอาบัตร..ไม่กดเงิน โชคดีที่ธนาคารมีระบบโทรตรวจสอบ .. แต่เงินในกระเป๋าหมดเกลี้ยง

หมายเลขบันทึก: 243789เขียนเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2009 07:25 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 05:17 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

วันนี้มีสัญญาณเตือนว่า เหนื่อย ล้า จึงสมควรลาพักผ่อน 2วัน อากาศร้อนมากต้องอยู่เฉพาะในร่ม จะได้ปลอดภัย

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท