รูปแบบการจัดการความรู้ในสถานศึกษาเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะคนในสถานศึกษา


การจัดการความรู้ - KM

.

.

.

รูปแบบการจัดการความรู้ในสถานศึกษาเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะคนในสถานศึกษา

ให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้

8 ขั้นตอน KM สู่การปฏิบัติ (8 Steps in KM Implementation)

-----------------------------------------------------

ฐานพัฒน์  ผลประมูล

ครูทำหน้าที่รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหารงานวิชาการ

โรงเรียนธนรัตน์อุปถัมภ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช

 

ขั้นที่ 1 กำหนดและสร้างทีมงานจัดการความรู้ในองค์กร (Knowledge Management Team)

: KM – Project Champion (CEO CKO หรือ CIO หรือผู้บริหารระดับสูงเป็นผู้สนับสนุนโครงการ)

: KM - Project Manager : ผู้บริหารโครงการมีความสามารถในการบริหารโครงการ

: KM - Subject Manager : ผู้บริหาร KM เฉพาะด้าน ทำหน้าที่เชื่อมโยง รวบรวมองค์ความรู้จาก ผู้เชี่ยวชาญเพื่อนำความรู้ไปสู่การปฏิบัติ

: KM – Knowledge Broker ผู้ดูแลภาพรวม

: KM – Facilitator ผู้อำนวยความสะดวก

: KM – Project Coordinator ทำหน้าที่ประสานงาน

: KM – Project Consultant ที่ปรึกษาภายนอก

ขั้นที่ 2 กำหนดกลยุทธ์ KM ของสถานศึกษา

: ศึกษากลยุทธ์

: วิเคราะห์โอกาส องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อความสำเร็จ

: เลือกกลยุทธ์ที่ส่งผลต่อความสำเร็จ

: จัดทำโครงการ

ขั้นที่ 3 สำรวจระบบการจัดการความรู้ในองค์กร

: จัดระบบฐานข้อมูล

: จัดระบบ IT

ขั้นที่ 4 คัดเลือกโครงการนำร่อง

: ความพร้อมของทีมงาน

: ความเชี่ยวชาญ

: เน้นโครงการนำร่องที่มีโอกาสสำเร็จสูง  

ขั้นที่ 5 พัฒนาโครงสร้างการจัดการ KM

: การบริหารการเปลี่ยนแปลง

: การปลูกฝังวัฒนธรรม

: การเรียนรู้และการแบ่งปันความรู้

: การบริหารงานบุคคล

: การประเมินผลและให้รางวัล  

ขั้นที่ 6 กำหนดเทคโนโลยีสนับสนุน KM

: ระบบ IT : เครือข่าย

ขั้นที่ 7 กำหนดแผนปฏิบัติการหลัก

: การบริหารโครงการ KM

: การบริหารการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในองค์การ

ขั้นที่ 8 การติดตาม ควบคุม และปิดโครงการ

: ติดตาม ควบคุมจากตัวชี้วัดความสำเร็จ

: ทบทวนงานทั้งหมด นำไปเป็นบทเรียน

แนวทางการสร้าง KM ให้ยั่งยืน

1. สร้างกระแสความตื่นตัว และความต้องการในการเปลี่ยนแปลง

2. หาทีมผู้เชี่ยวชาญทั้งภายในและภายนอก

3. สร้างสายสัมพันธ์ระหว่างทีมงานกับองค์กร

4. รวบรวมข้อมูลสารสนเทศและจัดระบบ IT เกี่ยวกับ KM

5. ตรวจสอบ วิเคราะห์อุปสรรค และโอกาส

6. กำหนดกลยุทธ์ แผนงาน เทคนิค และเครื่องมือบริหารที่จำเป็นในการเปลี่ยนแปลง

7. ติดตาม ทบทวน ปรับปรุงการปฏิบัติให้สอดคล้องกับสถานการณ์

8. สรุปผลการเรียนรู้ และส่งมอบโครงการ

ผลการจัดการความรู้

1. ผลสัมฤทธิ์ของงานเกิดผลสำเร็จระดับดีมาก (Best Practice)

2. บุคลากรมีการพัฒนาสมรรถนะ (Competency)

3. ความรู้ของบุคคลและองค์กรได้ยกระดับมาตรฐานสูงขึ้นเสมอ

4. องค์กร/หน่วยงาน เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ และบุคคลก็จะเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้

-= -= -=-=-=-=-=-=-=-=-=-=-=-=-=-

หมายเลขบันทึก: 242928เขียนเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2009 13:05 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 05:12 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท