Boron in Pararubber


การเปรียบเทียบการเตรียมตัวอย่างเพื่อวิเคราะห์โบรอนในไม้ยางพารา

 

การเปรียบเทียบเทคนิคการเตรียมตัวอย่างเพื่อวิเคราะห์หาปริมาณโบรอนในไม้ยางพาราโดยใช้เทคนิค ICP-OES

The Comparative Studies on Sample preparation for Boron Analysis in Pararubber Wood  by ICP-OES

 ภุชงค์ วรรัตนานุรักษ์*, ผุสดี  มุหะหมัด, สุนทร  ขวัญอ่อน, ดวงฤดี  หมวกทอง

Puchong  Worarattananuruk*, Putsadee  Muhamud, Sonthon  Khawn-on, Droungrudee Muakyhong

Department of Chemistry*, Central Equipment Division, Faculty of Science, Prince of Songkla University, Hatyai, Songkla, Thailand. Tel. 074-288058, Fax 074-212923

Email Address ; [email protected]

  บทคัดย่อ ; การวิเคราะห์หาปริมาณโบรอนในเนื้อไม้ยางพาราโดยอาศัยเทคนิค ICP-OES โดยทำการเปรียบการเตรียมตัวอย่าง ด้วยเทคนิคการย่อยแบบวิธีการต้มด้วยกรด (Wet acid digestion) กับการทำให้เป็นเถ้า (Dry ashing digestion) ซึ่งพบว่า  วิธีการต้มด้วยกรด (Wet acid digestion) มีประสิทธิภาพในการวิเคราะห์หาปริมาณโบรอนได้ดีกว่า การทำให้เป็นเถ้า (Dry ashingdigestion) ซึ่งในงานวิจัยนี้ได้ทำการเปรียบเทียบความแม่นยำของเทคนิคการวิเคราะห์ (F-test) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% พบว่าเทคนิคการย่อยทั้งสองวิธีไม่มีความแตกต่าง และเมื่อเปรียบเทียบความถูกต้อง (T-test) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า วิธีการย่อยแบบต้มด้วยกรด (Wet acid digestion) มีความถูกต้องน่าเชื่อถือมากกว่าเทคนิคการทำให้เป็นเถ้า (Dry ashing digestion) นอกจากนี้พบว่าการย่อยด้วยวิธีต้มด้วยกรด (Wet acid digestion) จะมี % recovery ในช่วง 104-110 % ส่วนวิธีการทำให้เป็นเถ้า (Dry ashing digestion) จะมี  % recovery ในช่วง 55-78 % และทั้งสองวิธีค่า %RSD < 3, ค่าสัมประสิทธิ์เชิงเส้น (R2) 0.9998 และค่าต่ำสุดที่วัดได้ (Detection limit) 1 ug/l

 Abstracts  ; This study focuses on the quantitative analysis of  Boron content in pararubber wood using ICP-OES technique. Two methods of sample preparation were compared namely ; wet acid digaestion and dry ashing digestion. The results show that, on precision analysis (F-test at 95% confidence level)  , two technique are not different. Whereas wet acid digestion was more efficient best on accuracy analysis (T-test at 0.05 significant level). This showed that wet acid digestion technique is more reliable than dry ashing digestion technique. In addition, it was found that wet acid digestion gave 104-110% recovery whereas dry acid digestion gave the lower recovery of 55-78%. However, both method showed % RSD less than 3%, coefficient of determination  (R2) of 0.9998 and the detection limit of 1 ug/l.

 

Keyword ; Wet acid digestion, Dry ashing digestion, Boron in pararubber wood.

คำสำคัญ (Tags): #boron#icp-oes
หมายเลขบันทึก: 200271เขียนเมื่อ 11 สิงหาคม 2008 20:15 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 01:31 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

ครับ ความรู้ใหม่สำหรับผม เลยครับ

ผมติดตามบันทึกของพี่ยา ทั้งใน G2K และ share.psu เลย

ผมชื่อเล่น "เอก" science chem 30 รหัส 4120412 ครับ

หวัดดีจ้า น้องเอก

ขอบคุณมากคะ ยินดีที่ได้รู้จักรุ่นน้องเคมีจ้า พี่ยา

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท