การถ่ายทำด้วยกล้องตัวเดียว


ใช้กล้องตัวเดียวเหมือนมีสามกล้อง

ในบทที่ผ่านมาได้ปูพื้น  เนื้อหาเกี่ยวกับการวางแผนการผลิต   ความสำคัญของภาพกับการผลิต   เช่นภาพขนาดนี้ มุมแบบนี้สื่อความหมายว่าอย่างไร   ต่อไปนี้จะเริ่มลงมือถ่ายทำกันเลย  

%e0%b8%81%e0%b8%a5%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b9%80%e0%b8%94%e0%b8%b5%e0%b8%a2%e0%b8%a7%e0%b9%80%e0%b8%ab%e0%b8%a1%e0%b8%b7%e0%b8%ad%e0%b8%99%e0%b8%aa%e0%b8%b2%e0%b8%a1

         
  
%e0%b8%81%e0%b8%a5%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b9%80%e0%b8%94%e0%b8%b5%e0%b8%a2%e0%b8%a7%e0%b9%80%e0%b8%ab%e0%b8%a1%e0%b8%b7%e0%b8%ad%e0%b8%99%e0%b8%aa%e0%b8%b2%e0%b8%a11

%e0%b8%81%e0%b8%a5%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b9%80%e0%b8%94%e0%b8%b5%e0%b8%a2%e0%b8%a7%e0%b9%80%e0%b8%ab%e0%b8%a1%e0%b8%b7%e0%b8%ad%e0%b8%99%e0%b8%aa%e0%b8%b2%e0%b8%a1%202  

            %e0%b8%81%e0%b8%a5%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b9%80%e0%b8%94%e0%b8%b5%e0%b8%a2%e0%b8%a7%e0%b9%80%e0%b8%ab%e0%b8%a1%e0%b8%b7%e0%b8%ad%e0%b8%99%e0%b8%aa%e0%b8%b2%e0%b8%a1%203

           %e0%b8%81%e0%b8%a5%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b9%80%e0%b8%94%e0%b8%b5%e0%b8%a2%e0%b8%a7%e0%b9%80%e0%b8%ab%e0%b8%a1%e0%b8%b7%e0%b8%ad%e0%b8%99%e0%b8%aa%e0%b8%b2%e0%b8%a1%204

  • อ่านและทำความเข้าใจทีละขั้นตอน  

  • ถ้ายังไม่มีกล้องก็สมมุติ  ทดลองถ่ายทำบนกระดาษ   วาดแบบง่ายๆไม่ต้องให้สวยงามก็ได้   ทดลองวางตำแหน่งกล้องแต่ละตัว   กำหนดจุดผู้สนทนาคนไหนนั่งตรงไหน   ลองลากเส้นจากแต่ละกล้อง   กำหนด shot แต่ละ shot  ตามเนื้อหาว่าจะตัดเปลี่ยนภาพ shot ไหนขนาดไหนเมื่อไร 

  • การร่างแผนการถ่ายทำบนกระดาษนี้   เป็นเรื่องจำเป็นที่ผู้กำกับต้องทำความเข้าใจ   เพื่อให้ทีมงานมองเห็นภาพ   ก่อนที่จะสั่งให้ใครทำอะไร   ถ้าเก็บไว้รู้เพียงผู้เดียว   ก็อาจทำให้ทีมงานไม่เข้าใจ   ทำให้เกิดวามขัดแย้ง   และทำให้งานล่าช้าได้   

  • เมื่อเข้าใจการถ่ายทำบนแผ่นกระดาษแล้ว   ก็ทดลองถ่ายด้วยกล้องจริง ๆ   ไม่จำเป็นอย่าแบกกล้องต้องใช้ขาตั้งทุกครั้ง   แต่ละ shot อย่า zoom อย่า pan อย่า tilt โดยไม่จำเป็น   ก่อนที่จะกดปุ่ม start ควรปรับขนาดภาพให้พอดี 

  • ก่อนที่จะอ่านเรื่องต่อไป   อย่าลืมให้คำติชมในเนื้อหาเรื่องนี้ด้วยนะครับ    

หมายเลขบันทึก: 165715เขียนเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2008 11:51 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 มิถุนายน 2012 15:15 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (15)

สวัสดีครับคุณสมเจตน์

ผมแวะเข้ามาอ่านครับ อ่านหาความรู้ทั่วไป ไม่ได้ทำครับ 

น่าสนใจมากครับ

เนื้อหาชัดเจน มีรูปประกอบทำให้เข้าใจง่าย

เนื้อหากำลังดี ไม่มาก ไม่น้อยไป

ขอบคุณครับ แล้วจะแวะเข้ามาใหม่ครับ 

  • ขอบคุณมากครับ
  • เนื้อหาน่าสนใจ มีภาพประกอบชัดเจน อ่านง่าย
  • อ่านเพื่อเสริมความรู้ครับ แม้ไม่ได้ใช้งานโดยตรง ก็อาจจะนำไปประยุกต์ใช้สำหรับการทำงานนำเสนอได้ในบางครั้งครับ
  • จะแวะมาเยี่ยมอีกครั้งนะครับ

สวัสดีครับคุณอำนวย

  • ขอบคุณที่แวะมาทักทาย  และให้ข้อคิดเห็น
  • การถ่ายภาพนับว่าเป็นงานอดิเรกได้  สมัยนี้กล้องราคาไม่แพงเหมือนเมื่อก่อน  ยิ่งถ่ายโดยไม่ต้องใช้ฟิล์ม  ไม่เสียเงินค่าล้างก็ยิ่งสบาย    เหลือเพียงแต่ถ่ายอย่างไรให้สวยและมีความหมาย   เดี๋ยวนี้จึงมีคนมากมายหลายอาชีพชอบถ่ายรูป   และผู้ที่มีอาชีพด้านไหนก็จะมีความรู้  ชำนาญในเนื้อหาด้านนั้นๆ  จึงได้เปรียบเมื่อนำมาเสนอสรุปงาน 
  • บ้านเรายังขาดคนที่เขียนเนื้อหา เขียนบท  ต่อไปเมื่อมีช่องทาง ออกอากาศมากขึ้น  ก็ไม่รู้ว่าจะนำรายการมาจากที่ไหน  ต้องซื้อสารคดีต่างประเทศมาออกอากาศ แทน

ไหว้สาคุณสมเจตน์......

เลอฌอเป็นภาษากะเหรี่ยงหรือปากะญอครับ  คำเต็มคือ    เลอฌอโข่

เลอหมายถึง  ก้อนหิน ก้อนผา

ฌอหมายถึงการจัดวาง

โข่  หมายถึง แท่น ที่วาง

สรุปคือการวางหินบนแท่น สรุปแล้วก็คือ  เตาไฟนั่นเอง

ต้องขอขอบคุณคุณบุญสุข  ตรีชวัลย์  ได้ให้ข้อมูลนี้

ด้วยความปรารถนาดีจากลุงหนาน......พรหมมา

 

  • ถ้าจะลองถ่ายบ้าง นำเทคนิคนี้ ใช้กล้อง VDO ถ่ายก็น่าจะได้นะคะ

 

สวัสดีค่ะอาจารย์

แวะมาสวัสดีทักทายและเก็บความรู้ค่ะ

ขอบคุณค่ะ

สวัสดีครับคุณ jaewjingjing

  • ขอบคุณครับที่แวะมาทักทาย  และเข้ามาอ่านความรู้เพียงน้อยนิดของบล๊อกนี้
  • คงไม่บังอาจที่จะเป็นอาจารย์ของคุณjaewjingjing 
  • ช่วงนี้คงต้องขอเข้าไปศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากล๊อกของคุณบ้าง  แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันนะครับ  ผมเองก็ยังต้องศึกษาหาความรู้ไปเรื่อยๆ  เพราะมีความรู้อีกมากมายที่ยังรู้ครับ

ดีจังเลย กำลังสนใจครับ

ขอฝากตัวเป็นศิษย์คนหนึ่งนะครับ

สวัดีครับคุณสิ้นศึก

  • ขอบคุณที่แวะเข้ามาทักทาย
  • ยินดีครับที่จะได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน 
  • ขออภัยช่วงเมื่อก่อนเที่ยงนี้  ผมเข้าไปอ่านในบล๊อกของคุณไม่ได้  จึงติดต่อไปทางอีเมลของคุณแล้วครับ

ขอฝากตัวเป็นศิษย์ ด้วยครับ อาจารย์ มีประโยชน์อย่างมากครับ

อาจารย์สมเจตคะ...ขออนุญาตนำเนื้อหาและรูปภาพบางส่วนที่อาจารย์นำเสนอเป็นวิทยาทานไปใช้อ้างอิวฃงในเอกสารประกอบการสอนวิชา การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้นนะคะ...จะใส่อ้างอิงให้ถูกต้องเลยค่ะ...

เนื้อหาที่อาจารย์นำเสนอ เข้าใจง่ายดีค่ะ...

ขอบพระคุณอาจารย์มากๆนะคะที่ผลิตงานดีดีเป็นวิทยาทานแก่พวกเรา

อ.เฟิน ม.ราชภัฏอุตรดิตถ์

ขอบคุณครับที่ให้ความรู้ ผมจะติดตามความรู้ของอาจารย์ต่อไป เพื่อไปใช้ในงานที่ทำอยู่ครับ

ขอบคุณมากครับเป็นประโยช์มากเลยคับ

ตอนนี้ผมกำลังเรียน วิทยุโทรทัศน์ อยู่คับ

เรียนจบแล้วอยากทำรายการโทรทัศน์คับ

ขอบคุณอีกครั้งครับ

ไม่ทราบว่า อาจารย์จำผมได้หรือไม่ ผมเคยช่วยงานอยู่บ้าง

ตอนผมอยู่ มศว.พิษณุโลก และที่ ศูนย์ กศน.ลำปาง

บรรจบ

อ.บรรจบ

ยังจำได้ครับ ยังมีภาพถ่ายเก็บไว้ เป็นช่วงงานลอยกระทงที่

ไปช่วยกันถ่ายวิด๊โอไว้ แต่อาจารย์ไม่มีที่อยู่ติดต่อกลับเลยไม่รู้

ว่าจะตอบอย่างไร ขณะนี้อยู่ที่ไหน ทำอะไร สบายดีหรือเปล่า

หากต้องการเอกสารทั้งหมด ผมเขียนเสร็จแล้วมี 9 บท มี

ครบทุกเรื่อง เข้าไปโหลดได้ที่เว็บ ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา

www.ceted.org เข้าไปที่ การจัดการความรู้(KM) แล้วเลือก

การผลิตรายการโทรทัศน์ เป็นไฟล์ pdf. สามารถนำไปใช้อ้างอิง

ได้ครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท