ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ


สช.  www.nationalhealth.or.th

         การประชุมเชิงปฏิบัติการ คณะกรรมการและอนุกรรมการจัดทำธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑   เสาร์ที่ ๙ ก.พ. ๕๑
 
         ผมไปร่วมการประชุมนี้ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการชุดที่ ๑  และฝึกบันทึกด้วย PDA    เป็นบันทึกส่วนตัว คนอื่นคงจะเข้าใจยาก

นพ. บรรลุ ศิริพานิช  ประธานคณะกรรมการ
         งานสุขภาพเป็นเรื่องของทุกคน   ท่านเป็นหมอ ๕๘ ปี   เห็น การ ปป ของระบบสุขภาพตลอดเวลา   จากไม่รู้ว่าสุขภาพคืออะไร  จนมีนิยาม   ปี ๒๕๕๐ มีการเปลี่ยนแปลงสำคัญ คือเกิด พรบ.  สุขภาพแห่งชาติออกมาเป็น กม.
         พรบ. นิยามสุขภาวะชัดเจน
         ทำให้สุขภาพเป็นของคนทุกภาคส่วน  
         พรบ. เหมือนเป็น Hardware    ธรรมนูญเป็น Software  

อำพล จินดาวัฒนะ 
         หมอรักษาคนป่วย  กับดูแลสุขภาพ
         องค์ประกอบของการประชุมที่หลากหลาย
         พรบ. เป็นเสมือนโครงบ้าน
         ยังไม่ได้จัดภายในบ้าน  ซึ่งเป็นหน้าที่ของธรรมนูญ
         คนที่มาร่วมมาจากหลากหลายภาคส่วน เช่น
  จรวยพร ปลัด กศธ.
  สุรเกียรติ
  มาริษา  กสช.  ระนอง
  พงษ์ศักดิ์
  ไพจิตร
  วีระ มธ
  สุชาติ เรืองสูง กสช. อยู่โทรศัพท์
  ชาติชาย บ้านจำรุง  วิทยุชช ระยอง
  น้ำค้าง ประชาสังคม ฉะเชิงเทรา

         ระบบสุขภาพ = ระบบชีวิต   คนไทยทุกคนเป็นเจ้าของ
         เปลี่ยนวิธีคิด
         ธรรมนูญ เครื่องมือนวัตกรรมทางสังคม (ประเวศ)
         สุขภาวะ ๔ มิติ  กาย ใจ สังคม ปัญญา
         เป็นศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
         เป็นอุดมการณ์ของชาติ
         สร้างนำซ่อม
         สุขภาวะพอเพียง
         ความมั่นคงด้านสุขภาพ
         คำนึงถึงสิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
         ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์

         อังกฤษ  อเมริกา  บราซิล วิธีคิดระบบสุขภาพก้าวหน้าสู้ไทยไม่ได้

พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข 
         ระบบและกลไกการจัดทำธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
         เน้นการมีส่วนร่วมของ ปชช ทุกระดับในระบบสุขภาพ
          ม. ๔๖ เป็นกรอบและแนวทางในการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และการดำเนินงานด้านสุขภาพของประเทศ
         พันธสัญญา
         ความหมายที่เหนือกว่าที่ กม. กำหนด
          - เป็นเจตนารมณ์ร่วม
          - เครื่องมือเชื่อมโยง

         กระบวนการยกร่างธรรมนูญ
         คณะกรรมการ บรรลุ
         คณะอนุกรรมการ ๖ ชุด และคณะทำงานฝ่ายเลขานุการ
         ออกแบบการทำงานเก่งมาก  เป็นเลขาร่วม ทำงานร่วมกัน  
         ทุนเดิมอยู่ในร่าง พรบ. ปี ๔๕

บรรลุ
         ทำธรรมนูญ  คล้ายร่าง รธน.   มีรัฐบาล ที่ต้องการแก้ไข รธน.   แต่ธรรมนูญสุขภาพจะไม่เป็นอย่างนั้น


ประชุมกลุ่มที่ ๓
         สุรเกียรติ อาชานุภาพ  ประธาน 
         อุกฤษฎ์ "คุณอำนวย"
         พินิจ ฟ้าอำนวยผล "คุณลิขิต"

ประเด็นสำคัญ ที่ควรเน้นหรือเพิ่มเติม

         ทบทวน ๑๒ ประเด็น ใน ม ๔๗   และประเด็นในยกร่าง พรบ ปี ๔๕ ที่ถูกตัดออก

         **ข้อ ๑๑ การผลิตและการพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุข    มองทรัพยากรมนุษย์ในมุมมองที่กว้างกว่าคนในระบบ

วีระ  มหาดไทย
         ขาดด้านการจัดการ    องค์กร  ๔ ส่วน  บริการ  วิชาการ  ธุรกิจเอกชน   อปท   ควรกำหนดส่วน ๓ และ ๔ ไว้ให้ชัด
 
นพ. พงศ์เทพ
         ข้อ ๑๑ บุคลากรสุขภาพ ในมติที่กว้าง
         ระบบ กศ กับสุขภาพ

ธีรศักดิ์  อปท
         สร้างความสัมพันธ์รอยต่อ  ใส่สาระเชิงโครงสร้าง  และการจัดการ

รศ. ดร. วิทยา เภสัช จุฬา
         การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ 
         ธรรมาภิบาล และจริยธรรมด้านสุขภาพ การแสวง ปย จาก งปม

ปชช 
         การเข้าถึงทรัพยากร  เป็นสิทธิ ชช  
         ทำงานกับพี่น้อง HIV/AIDS นักการเมืองใช้ข้อมูลที่ต่างชาติให้

อัมมาร์
         อยู่ที่นิยามตามมาตรา ๓  จะถือแคบหรือกว้าง
         พรมแดนของบทบาทของรัฐ  ชช  คค  ธุรกิจเอกชน  
         ร่างปี ๔๕ ดุเดือด
         กสธ. ต้องยอมลดบทบาท   อย่าหวงก้าง  
---
         กระจายอำนาจให้ท้องถิ่น ไม่ใช่ อปท   ควรระบุบทบาทของหลายฝ่ายในท้องถิ่น
---
         การปรับเปลี่ยนวิธีคิด เช่น อคติทางเพศ
         Empowerment ภาค ปชช

ธีรศักดิ์ 
         บุคลากร สธ   ขาดแคลน  กระจุกตัว   จึงสนับสนุน ม ๘๔ (๓) เดิม ส่งเสริมสนับสนุนระบบการผลิตที่ให้บุคลากรจากชุมชนท้องถิ่นต่างๆ มีโอกาสเข้าศึกษาและพัฒนาเป็นบุคลากรด้าน สธ เพื่อไปทำงานในท้องถิ่นของตนเอง
---
         นายก อบต ส่งญาติ  เปลี่ยนทีม ไม่ยอมรับบัณฑิต ที่จบแล้วเข้าทำงาน

รัตนา สุพรรณ
         ท้องถิ่นทำเอง   รัฐถอยออกมาเป็นพี่เลี้ยง
         ข้อบังคับของมหาดไทยไม่เปิดโอกาสส่งเข้าเรียน

         **ธรรมนูญ ที่เน้นพลวัต มากกว่า เน้นความชัดเจนหยุดนิ่ง

ธีรศักดิ์   นายก อบต เพชรบูรณ์
         ใช้เงิน สปสช ๓๗.๕ บาท  ทั้งๆ ที่ ระเบียบไม่เอื้อ  ๓ แสน เติม ๗
         คิดถึงธรรมนูญท้องถิ่น 

อัมมาร์
         สภาวิชาชีพเป็นองค์กรผูกขาด 
         บทบาทวิชาชีพ   บทบาทสถานบริการ   มีการพัฒนาบทบาท  มีการเคลื่อนไหวพลวัตได้ควรตื้นลึกเพียงใด
         เชื่อมโยงเพียงใด
         เคลื่อนไหวเพียงใด

นพ พงศ์เทพ
         ข้อคิดเห็นที่หลากหลาย ควรนันทึกเก็บไว้
---
ร่ม 

ธีรศักดิ์
         อย่าเขียนให้ดิ้นได้เกินไป  เอาไปบิดเบือนเจตนารมณ์ง่าย

อัมมาร์
         บรรพบุรุษ ทางความคิดของแต่ละมาตรา  ระบุไว้ได้
         ถ้ามีการเบี้ยว ใครจะบอกหรือชี้   เพราะเป็นเรื่องอำนาจ ศักดิ์สิทธิ์
         ถ้าดิ้นไม่ได้ การเมืองจะไม่ยอม
         ต้องรักษาจิตวิญญาณ โดยมีบันทึกการขับเคลื่อนไว้เป็นเครื่องมือของกระบวนการ ปชช
---
          ร่างตุ๊กตา ส่งไปพื้นที่ถามความเหน ปชช เปนกระบวนการ รรรก   ไม่เน้นเป็นจุดสิ้นสุด
**Means > end
---
         ผู้ปฏิบัติได้ ปย  ไม่ปฏิบัติก็ไม่ได้ ปย   เขียนให้เชื่อมโยง   เน้นการมีส่วนร่วมของบุคคล
 
         ** Tacit K = จิตวิญญาณ
 
สรุป  พินิจ
         บุคลากร
         ระบบ
         ทิศทางกระจายอำนาจ   ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ - ทถ
          ธรรมาภิบาล และจริยธรรม ในระบบ
         มิติด้านปัญญา
         กศ
         คุ้มครองสิทธิ
         ระบบบริการสุขภาพ  สภาวิชาชีพ
         การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
         ทรัพยากร ทถ   
         ที่มาของแต่ละประเด็น   การบันทึกเจตนารมณ์
         เน้นการใช้ ปย
         ร่างขอความเห็น

**ส่วนที่ชัด  กับส่วนไม่ชัด
---
         เงินภาครัฐ 30%   ภาค ปชช 70%  ควรเน้นอรูปนัย
---
         ต่อสู้กับผล ปย มิชอบ
---
         การกระจายอำนาจในการจัดการสุขภาพสู่ ทถ ต้องนิยามว่าหมายถึงอะไร   น่าจะนิยามว่า องค์กรระดับ ทถ
         ภาคประชาสังคม หายไป

วิทยา
         ฉบับจริง  กับฉบับแก่น
         VGD  Vision  gap  direction
         ทถ และ ชช สุขภาพ  เป็นคำไม่ผูกพันรัฐมากไป

---
         ด้านจิตตปัญญา  เน้น IQ  สุขภาพด้านจริยธรรม  ขอให้ชัด


ช่วงบ่าย

ประธาน : ณรงค์ศักดิ์ อังคสุวพลา,  อุกฤษฎ์ มิลินทางกูร


กลุ่ม ๑
สมลักษณ์ หุตานุวัฒน์
 
         ให้ครอบคลุม สุขภาพถ้วนหน้า
         เป็นพลังเหนี่ยวนำ ไม่ปิดกั้น ไม่ขัดแย้ง
         บันทึกเจตนารมณ์
         เป็นประภาคารสุขภาพ
         อ่านแล้วเกิดแรงบันดาลใจ  
         ผลักดันสู่ระบบอื่นๆ 
         ขบวนการสื่อ
         สะท้อนการ ปป   สร้างอุดมการณ์ร่วมกันในสังคม   มียุทธศาสตร์ก่อนหลัง
         ระบบภาษี ปกป้องสุขภาพ
         เวทีวิจารณ์ 

กลุ่ม ๒
สมพันธ์

         คำพูด พงษ์ศักดิ์  ห้ามทำนักการเมืองเสียอารมณ์   อย่าเอารถไฟไปชนไม้จิ้มฟันแล้วตกราง   
      - ใช้ร่างของปี ๔๕  เพิ่มสถานการณ์ปัจจุบัน
      - เพิ่มต้านโลกาภิวัตน์
      - เพิ่มนวัตกรรมไทย
      - ภูมิต้านทานทุนข้ามชาติ
       - เขียนให้สร้างการเรียนรู้ร่วมกัน
      - เน้นสื่อสาร สร้างกระแส   สื่อเป็นรูปธรรม   กับผู้บริหาร ราชการ หน่วยหลักๆ  ราชการ เข้าร่วมสื่อสาร
      - เขียนให้ ครม. รับ ราชการแปรไปปฏิบัติได้

กลุ่ม ๓
          พินิจ ฟ้าอำนวยผล

กลุ่ม ๔
         ปัตตะพงศ์ เปี่ยมสมบูรณ์  มข.
         กม. ที่ออกฤทธิ์
         Quotes
         ทำให้เป็นจุดอ้างอิง
         ออกฤทธิ์ผ่านการแปลชุดความคิด/วาทกรรมสู่การปฏิบัติ
         ให้เห็นกลไกสู่ปฏิบัติ  มีกลไกประเมินผล
         เสนอตั้งคณะทำงานชุดพิเศษ
         ธรรมาภิบาล   ชาวบ้านต้องตรวจสอบ

ประธาน
         จับต้องได้  วัดได้  มี keyword ให้ติดตามได้

อำพล
         ไม่มีสมบูรณ์ เป็นวงจร ๕ ปี
         ต่อไป ทำงานขั้น กก  และ อนุ ๑ - ๖
         เป็นการ รร ไปเรื่อยๆ  
         กรอบและแนวทาง :  กรอบใหญ่ vs  แผน + งปม.
         ออกฤทธิ์เชิงบังคับ ใช่ไหม  หรือมีความหมายเชิงอ้างอิง   ภาคประชาสังคมเอาไปใช้กำกับสังคม
         เครื่องมือ รร ของสังคม vs  พิมพ์เขียว
         หวือหวา สร้างความขัดแย้ง เรียกร้องความสนใจ
         คาดหวังที่รัฐบาล  vs  มองรัฐบาลเป็นเพียงเส้าเดียว  ยังมีอีก ๒ เส้า  วิชาการ  ปชช

ชุด ๑
         ทำให้ช้างทั้งตัว ชัด  เดิน
 
อรพรรณ
         ทำไป รร ไป
         **กรอบที่ชี้ทางปฏิบัติ แล้วมีกลไกตรวจสอบการปฏิบัติ**  ขับเคลื่อนทางสังคม  ยุทธศาสตร์ 2 จังหวะ
          เป็นเครื่องมือของ นโยบาย  implementation  วิชาการ  advocate
  

การประชุมคณะอนุกรรมการยกร่างกรอบและสาระสำคัญธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ และสาระสำคัญตาม พรบ. สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๔๗(๑)(๒)(๓)  (ชุดที่ ๑)
     • กรอบและสาระสำคัญเน้นหลักการและเป้าหมายระยะยาว ให้ perspective  ปรัชญา แนวคิด คุณลักษณะ ของระบบสุขภาพแห่งชาติ 
     • ส่วนที่เป็นมาตรการ  กลไก  ยุทธศาสตร์  และแผน ให้เป็นทางเลือกหลากหลายแนวทาง    เปิดช่องให้ฝ่ายปฏิบัติเลือกวิธีการและแนวทางเอาเอง
     • เป็นเวที/พื้นที่สำหรับให้สังคมหลากหลายภาคส่วน หลากหลายแนวคิด เข้ามาทำงานร่วมมือ โต้แย้ง สร้างนวัตกรรม ในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพของชาติ    เป็นการเปิดโอกาสให้ได้เข้ามาทำงานขับเคลื่อนอย่างเท่าเทียมกัน    มีข้อมูลและสารสนเทศเท่าเทียมกัน
     • การทำงานขับเคลื่อนระบบสุขภาพของชาติ ใช้กลไก ๔ อย่างประกอบกัน คือ (๑) พรบ. สุขภาพแห่งชาติ  (๒)  ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ  (๓) สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ  (๔) actors ในระบบสุขภาพ ได้แก่ ราชการ  ธุรกิจเอกชน  นักวิชาการ  นักต่อสู้ประชาสังคม   
     • กลไกเหล่านี้ทำงานในลักษณะร่วมมือและตรวจสอบหรือสร้างสมดุลระหว่างกัน   
     • มองอีกมุมหนึ่ง กลไก ๔ อย่างนี้ทำงานขับเคลื่อนระบบสุขภาพของชาติ ในลักษณะทำไปเรียนรู้ไป    มีทั้งการร่วมมือ แข่งขันและขัดแย้งระหว่างกัน    โดยมองว่าระบบสุขภาพของชาติเป็น Complex Adaptive Systems
      
         ผมมองว่ากระบวนการธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ    และสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ  ต้องเป็นเวทีสุนทรียสนทนาอย่างสร้างสรรค์ ระหว่างผู้มีอุดมการณ์ แนวคิด และผลประโยชน์ต่างกันในระบบสุขภาพ     ต้องไม่ใช่เวทีผูกขาดของกลุ่มประชาสังคม คนที่อยู่ในระบบสุขภาพแนวตลาดหรือทุนนิยม ต้องมีโอกาสและพื้นที่สำหรับแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ด้วย 

         คณะเลขานุการกิจชุดนี้มีความสามารถสูงมาก     สามารถสังเคราะห์ประเด็นต่างๆ ออกมาได้ดีมาก     เราตกลงกันว่าคณะอนุกรรมการ ๖ ชุด จะทำงานแบบคู่ขนาน และค่อยๆ ปรับและเติมเต็มซึ่งกันและกัน ผ่านคณะเลขานุการกิจ    และคณะอนุกรรมการชุดที่ ๑ นี้จะมีวิธีทำงานแบบไม่ลงรายละเอียด    ผู้ลงรายละเอียดคือคณะทำงาน    เท่ากับคณะอนุกรรมการเน้นประเด็นเชิงมหภาค

หมายเลขบันทึก: 164562เขียนเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2008 09:18 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มิถุนายน 2012 16:08 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท