โครงการ patho-OTOP 3 ของหน่วยเคมีคลินิก กลุ่ม 1 ตอนที่2


 ต่อจากบันทึกก่อนหน้า วิธีการดำเนินงานของโครงการ 

การเปลี่ยนแปลงของผลการตรวจสารเคมีในเลือดเมื่อวางไว้ที่อุณหภุมิห้อง   

 
-ใช้สิ่งส่งตรวจที่เป็นเลือด จำนวน  60  ราย เลือกที่มีค่าสูงปกติ ค่าปกติ(ค่ากลาง) และต่ำกว่าปกติ  ที่ส่งมาตรวจที่หน่วยเคมีคลินิก รพ.สงขลานครินทร์
-ศึกษาความเปลี่ยนแปลงของการทดสอบ 22 รายการ ได้แก่ BUN,  Creat, Ca, P, UA, D-bili, T- bili, AST, ALT, ALP, TP, Alb, LDH, CK, LDH, HDL-c,   LDL-c, Amy, Na, K, Cl  และ TCO2
-ทำการทดสอบทันที (ภายใน 30 นาที หลังจากเจาะเลือด) และเมื่อทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 1, 3, 5 และ 7 ชม. หลังจากเจาะเลือด
-เปรียบเทียบค่าที่ได้ในเวลาต่างๆกับค่าที่วิเคราะห์ทันทีโดยใช้ paired T-Test
 ตัวอย่างหลอดเลือดที่วางทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง
 Img_3473+%28small%29
    ณ ตอนนี้ทีมงานกำลังวางแผน ว่าจะศึกษาทั้งหมด 22 รายการ หรือบางรายการที่มีการสั่งตรวจบ่อย แต่จากสถิติในหน่วยเคมีมีการสั่งเพิ่มเติมทุกรายการทดสอบ และสิ่งรบกวนรวมไปถึงปัจจัย อย่างอื่นที่พี่  mitochondria แนะนำมา ไม่รู้จะเริ่มอย่างไรดี ครับ สงสัยงานนี้ทีมงานคงคิดหนัก ครับ
หมายเลขบันทึก: 129802เขียนเมื่อ 20 กันยายน 2007 07:49 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 20:30 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท