การศึกษาแบบพหุวัฒนธรรม


ความเหมือน ความต่าง จุดประเด็นร่วมที่ควรทำ
        พหุ คือ หลาย วัฒนธรรม คือ การดำเนินวิถีชีวิตประจำวัน ความหมายของ พหุวัฒนธรรม คือการดำเนินวิถีชีวิตประจำวันโดยเน้นความเหมือนความต่างและจุดประเด็นร่วมเป็นการยอมรับซึ่งกันและกัน
        ผลที่เกิด การยอมรับในวิถีชีวิตประจำวันซึ่งกันและกัน นำมาซึ่งสันติสุขในสังคม
    
แนวคิด/ทฤษฎี
บัลลอค  รีพอร์ท
ไม่ควรมีเด็กคนใดถูกบังคับให้ละทิ้งภาษาและวัฒนธรรมถิ่น  ซึ่งเขาได้รับจากบ้าน  เมื่อเขาเริ่มก้าวเข้ามาสู่โรงเรียนก็ไม่ควรมีเด็กคนใดถูกบังคับให้ใช้ชีวิตและการแสดงออกราวกับว่าโรงเรียนกับบ้านของเขานั้นเป็นวัฒนธรรมคนละวัฒนธรรมที่แยกจากกัน
ทฤษฎีการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรมแบ๊งค์
1.       ลุ่มหลงวัฒนธรรมตนเอง  ปฏิเสธวัฒนธรรมอื่น
2.       ล่มหลงวัฒนธรรมอื่น  ปฏิเสธวัฒนธรรมตนเอง
3.       ยอมรับและเห็นคุณค่าวัฒนธรรมของตนเอง
4.       ยอมรับและเห็นคุณค่าวัฒนธรรมของตนเองและผู้อื่น
5.       สะท้อนความหลากหลายทางวัฒนธรรมและแสดงออกความเป็นชาติของตน
6.       สะท้อนความเป็นชาติของตนและมนุษย์โลก

 

หมายเลขบันทึก: 129219เขียนเมื่อ 18 กันยายน 2007 11:27 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 18:21 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท