สับเซตและเพาเวอร์เซต


มาเริ่มเรียนสับเซตและเพาเวอร์เซตกันเถอะ

 

จุดประสงค์

1. สามารถหาสับเซต เพาเวอร์เซต และแสดงเซตโดยใช้แผนภาพได้

 1.2  สับเซต ( Subset ) 

นิยาม  เซต A เป็นสับเซต ของเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ เซต A เป็นสมาชิกของเซต  B

                สัญลักษณ์             เซต A เป็นสับเซตของเซต B  แทนด้วย                          A Ì B

เซต A ไม่เป็นสับเซตของเซต B  แทนด้วย                     A Ë B

หมายเหตุ              เซต A ไม่เป็นสับเซต ของเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกอย่างน้อย 1 ตัวของ

เซต A ไม่เป็นสมาชิกของเซต B

                ตัวอย่างที่ 10 กำหนดให้

A = { 1 , 2 }

B = { 2 , 3 }

C  = { 1 , 2 , 3 }

D  = { 1 , 2 , 3 , 4 }

จงตรวจสอบดูว่า  เซตใดเป็นสับเซตของเซตใด

วิธีทำ             A Ë B  ,  A Ì C  ,  A Ì D

                       B Ë A  ,  B Ì C  ,  B Ì D

                       C Ë A  ,  C Ë B  ,  C Ì D

                       D Ë A  ,  D Ë B  ,  D Ë C

ตัวอย่างที่ 11        ให้  A = { 1 , 2 , 3 , 4 } , B = { 2 , 1 , 4 , 3 }

ตรวจสอบดูว่า

1.       เซต A เป็นสับเซตของเซต B หรือไม่

2.       เซต B เป็นสับเซตของเซต A หรือไม่

วิธีทำ      1. AÌ B  เพราะ  สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิกของเซต B

                2. B Ì A  เพราะ  สมาชิกทุกตัวของเซต B เป็นสมาชิกของเซต A

หมายเหตุ             A = B ก็ต่อเมื่อ  A Ì B และ B Ì A

ตัวอย่างที่  12       กำหนดให้ A = { a , b , c }  จงหาสับเซตทั้งหมดของ A

                วิธีทำ      สับเซตทั้งหมดของ A ได้แก่

                                Æ , {a} , {b} ,{c} , {a,b} , {a ,c} , {b,c} , {a,b,c}

  

ตัวอย่างที่  13       กำหนดให้ B = { 1 , {2} }  จงหาสับเซตทั้งหมดของ B

                วิธีทำ      สับเซตทั้งหมดของ Bได้แก่

                                Æ , {1} , {{2}} , {1,{2}}

 

สมบัติของสับเซต

1)      AÌA            (เซตทุกเซตเป็นสับเซตของตัวมันเอง)

2)      A Ì U          (เซตทุกเซตเป็นสับเซตของเอกภพสัมพัทธ์)

3)      Æ ÌA         (เซตว่างเป็นสับเซตของทุกๆ เซต)

4)      ถ้า AÌÆ แล้ว A = Æ

5)      ถ้า A Ì  B และ B Ì C แล้ว A Ì C  (สมบัติการถ่ายทอด)

6)      A = B   ก็ต่อเมื่อ A Ì  B และ B Ì A

7)      ถ้า A  มีจำนวนสมาชิก n ตัว สับเซตของเซตจะมีทั้งสิ้น 2n สับเซต

สับเซตแท้

นิยาม            A เป็นสับเซตแท้ของ B ก็ต่อเมื่อ  AÌB และ A ¹ B

ตัวอย่างที่ 14  กำหนดให้ A = { a , b , c }  จงหาสับเซตแท้ทั้งหมดของ A

                วิธีทำ      สับเซตแท้ของ A ได้แก่

                                Æ , {a} , {b} ,{c} , {a,b} , {a ,c} , {b,c}

                                มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น  7 สับเซต

                หมายเหตุ  ถ้า A  มีจำนวนสมาชิก n ตัว สับเซตแท้ของเซตA จะมีทั้งสิ้น 2n –1 สับเซต

              ตัวอย่างที่  15  กำหนดให้  A = { Æ , a , b ,{c} , {d , e}} จงพิจารณาข้อต่อไปนี้ข้อใดถูกข้อใดผิด

1)      Æ Î A

2)      Æ Ì A

3)      {Æ} Ì A

4)      {a} Ì A

5)      จำนวนสับเซตทั้งหมดของ A มีทั้งสิ้น  32 ตัว

วิธีทำ      1. Æ Î A            ถูกต้อง  เพราะในเซต A  มีสมาชิก 5 ตัว และ เป็นสมาชิกตัวหนึ่ง

2.  Æ Ì A           ถูกต้อง  สมบัติของสับเซต  เซตว่าง เป็นสับเซตของทุกเซต

3.  {Æ} Ì A      ถูกต้อง เพราะ Æ เป็นสมาชิกตัวหนึ่งของ  A

4.  {a} Ì A          ถูกต้อง เพราะ a  เป็นสมาชิกตัวหนึ่งของ  A

5.       จำนวนสับเซตทั้งหมด =  32 เซต ถูกต้อง เพราะ A มีสมาชิก  5  ตัว( 25 = 32 )

 

กิจกรรมที่ 1.2

  

 

คำชี้แจง     ให้นักเรียนใช้เวลาทำ 20 นาที แล้วอภิปรายร่วมกัน  และตรวจคำตอบ

1.       ข้อความต่อไปนี้ข้อใดถูก  และข้อใดผิด

..........................  1)  { 2 } Ì { 1 , 2 , 3 }

..........................  2)  5 Ì { 3 , 4 , 5 }

..........................  3)  Æ Ì { 0 }

..........................  4)  { 3 } Ì { 1 , 2 { 3 }}

..........................  5)  { a , b , c } Ì { a , b , c }

..........................  6)  {{ 5 }} Ì { 3 , 4 , { 5 }}

..........................  7)  Æ Ì { Æ }

..........................  8)  {{  }} Ì {  }

..........................  9)   A Ì { A }

..........................  10)  { 1 , 2 } เป็นสับเซตแท้ของ { 1 , 2 , 3 }

 

2.  ให้ A = { a,b,c }             B = { b,c,d }         C = { a,b,c,d }      D = { b,c,d,e }

      จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ ถูก หรือ ผิด เพราะเหตุใด

1) AÌB =......................................................................................................................................

2) BÌC =......................................................................................................................................

3) BÌA =.....................................................................................................................................

4) CÌB =......................................................................................................................................

5) BÌD =......................................................................................................................................

6) CÌD =......................................................................................................................................

7) AÌD =......................................................................................................................................

8) AÌC =......................................................................................................................................

9) BÌB =......................................................................................................................................

10) AÌA =....................................................................................................................................

    

3.   จงหาจำนวนสับเซตของ A เมื่อ

1)      A มีสมาชิก 1 ตัว                  ..................................................

2)      A มีสมาชิก 2 ตัว                  ..................................................

3)      A มีสมาชิก 3 ตัว                  ..................................................

4)      A เป็นเซตว่าง                      ..................................................

5)      A มีสมาชิก n ตัว                  ..................................................

4. จงหาจำนวนสับเซตแท้ของ A เมื่อ

1)      A เป็นเซตว่าง                      ..................................................

2)      A มีสมาชิก 1 ตัว                  ..................................................

3)      A มีสมาชิก 2 ตัว                  ..................................................

4)      A มีสมาชิก 3 ตัว                  ..................................................

5)      A มีสมาชิก n ตัว                  ..................................................

เพาเวอร์เซต ( Power Set )

นิยาม      ถ้า A เป็นเซตใดๆ  เพาเวอร์เซตของเซต A คือเซตที่มีสมาชิกเป็นสับเซตทั้งหมด

ของ A แทนด้วย P(A)

P(A) = { x | x Ì A }

ตัวอย่างที่ 16  กำหนด A = { a , b , c }  จงหา P(A)

                วิธีทำ      P(A)  = { {a} , {b} ,{c} , {a,b} , {a ,c} , {b,c} , Æ }

ตัวอย่างที่ 17  กำหนด A = { Æ , {a}}  จงหา P(A)

                วิธีทำ      P(A)  = { {Æ} , {{a}} , {Æ ,{a}} ,Æ }

ตัวอย่างที่ 18  กำหนด B = { }  จงหา P(B)

                วิธีทำ      P(B)  = {{ }}

ตัวอย่างที่ 19  กำหนด A = {a}  จงหา P(P(A))  และ จำนวนสมาชิกของ P(P(P(A)))

                วิธีทำ      P(A)                        = {Æ ,{a}}  หรือ {Æ ,  A }

                                จำนวนสมาชิกของ   21 = 2 เซต

                                P(P(P(A)))           = {Æ ,{a} , {{a}} , {Æ, {a}}}  หรือ

                                                                = {Æ ,{a} , {{a}} , P(A) }

                                จำนวนสมาชิก = 2 2 = 4 เซต

                                จำนวนสมาชิกของ P(P(P(A))) = 24 = 16  เซต

                               

สมบัติของเพาเวอร์เซต

ให้ A , B เป็นเซตใดๆ

1)      Æ Î P(A)

2)      A Î P(A)

3)      P(A) ¹ Æ

4)      P(A) Ì P(B) ก็ต่อเมื่อ A Ì B

5)      ถ้า A  มีสมาชิก n ตัว P(A) จะมีสมาชิก 2n   ตัว

 

กิจกรรมที่ 1.2 (ต่อ)

   

 

1.  จงหาเพาเวอร์เซตของเซตต่อไปนี้

1)      กำหนด A = { a }  จงหา P(A)

......................................................................................................................................................

2)      กำหนด B = { 5 , 3 }  จงหา P(B)

......................................................................................................................................................

 

3)      กำหนด C = { 2 , a , c }  จงหา P(C)

......................................................................................................................................................

 

4)      กำหนด D = { b , { 5 } }  จงหา P(D)

......................................................................................................................................................

 

5)      กำหนด E = { Æ }  จงหา P(E)

......................................................................................................................................................

        

แผนภาพของเวนน์ออยเลอร์

(Venn-Euler Diagram )

การเขียนแผนภาพเกี่ยวกับเรื่องเซต  นักคณิตศาตร์ 2 ท่านคือ จอห์น เวนน์ (John Venn) และ ลีอองฮาร์ดออยเลอร์ (Leohard Euuler ) เป็นผู้ริเริ่มใช้ก่อน  จึงนิยมเรียกแผนภาพที่แสดงเกี่ยวกับเรื่องเซตว่า แผนภาพของเวนน์ออยเลอร์

หลักการเขียนแผนภาพเวนน์ออยเลอร์

1.       ใช้รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแทนเอกภพสัมพัทธ์ U

2.       ใช้วงกลมหรือ วงรีหรือรูปปิดใดๆ  แทนเซตต่างๆ ที่เป็นสับเซตของ U

U

 

A

U

     

 

                         แผนภาพแสดงเอกภพสัมพัทธ์                               แผนภาพแสดงเซต A ซึ่งเป็นสับเซตของ U

U

 

    A                           B

U

 

A                             B

แผนภาพแสดงเซต A และ B ซึ่งมีสมาชิกซ้ำกันบ้างบางตัว ทั้ง A และ B ต่างก็เป็นสับเซตของเซต U

แผนภาพแสดงเซต A และ B ซึ่งไม่มีสมาชิกร่วมกันเลย แต่ A และ B ต่างก็เป็นสับเซตของเซต U

     

 

               

 

  

B

A

U

A

B

U

     

 

                แผนภาพแสดงเซต A เป็นสับเซตของ B                                        แผนภาพแสดงเซต A = B

                (สมาชิกทุกตัวของ A เป็นของ B ด้วย )                                    (สมาชิกทุกตัวของ A และ B เหมือนกัน )

   

ตัวอย่างที่ 20 กำหนดให้

U = { 1 , 2 , 3 , … , 14 }                              A = { 1 , 2 , 3 , 4 , 7 , 8 }

B = { 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 9 }                             C = { 7 , 8 , 9 , 10 ,11 }                              D = { 10 }

จงเขียนแผนภาพแสดงเซตต่างๆ  ที่กำหนดให้

U

A

B

C

D

10

12

13

14

1

2                        

5

6                        

7

8

9

11

3

4         &nb

หมายเลขบันทึก: 113817เขียนเมื่อ 23 กรกฎาคม 2007 15:47 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 23:30 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (18)

ขอบคุณค่ะ อาจารย์กำลังให้หาอยู่พอดี เเต่จะมีข้อเสนอเเนะก็คือ บางครั้งเเต่ละที่ก็เขียนสมบัตฺของสัปเซต เเละเพาเว...ต่างกันน่ะคะ งง มากๆๆๆๆๆๆๆ

งง มากเรื่องนี้ ยิ่งเรียนและยิ่งมึน!

555555555555

ดีมากครับกำลังงงอยู่พอดีขอบคุณครับ...........♥♥♥

คืออยากถามว่า A เป็นสับเซตของ P(A)รึเปล่าคะ

ครูผู้สอนโดยส่วนใหญ่จะมีเนื้อหาสอนนักเรียนอยู่แล้ว แต่สิ่งที่ขาดคือ แบบฝึกหัดที่หลากหลาย และครูผู้สอนส่วนใหญ่ก็มีหนังสือ มากมาย แต่ที่สำคัญคือ ความยากลำบากในการพิมพ์ วันนี้มีเข้ามาอ่านเนื้อหา และดีใจมากที่ที่นี้มีแบบฝึกด้วย ส่วนมากมีแต่เนื้อหา แบบฝึกมีน้อยมาก ในความคิดของแตน คิดว่า ใครก็ตามที่มีความสามารถ น่าจะช่วยรวบรวมแบบฝึกในเรื่องเซต ให้มากๆ เพื่อทำให้นักเรียนฝึกนะคะ คือหมายถึง โรงเรียนขนาดเล็ก ที่ไม่มีเทคโนโลยี นอกจาก กระดาษ ต้องการมาก

ง่ายจะตายไป

เริ่มเข้าใจบ้างแล้วค่ะ แรกๆก็เรียนไม่ยากนะค่ะ

แต่หลังๆเริ่มมึนกับโจทย์

ตอนแรกๆก้อง่ายพักหลังนี้...มีแผนภาพแวนออยเลอร์ กะโจทย์

โอ๊ย กลุ้ม

DDDDDDD^_^

ที่สุดเลยข๊ะ

THANK YOU

FROM YOU

มีเเบบฝึกด้วยดีจัง

ไม่เข้าใจเลยค่ะมีค่อยมีฟื้นฐานมาเรียนทีเดียวเลยงงๆ

งงงงง

ติดกานยาววววววว

ดีมากครับ ถ้าผมได้ A ผมจะขอขอบคุณเป็นอย่างมวกครับขอบคุณครับ

กำลังหาพอดีเลย ขอบคุนค่ะ

งงจังเลยค่ะ

ทำยังไงจะทำได้

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท