อนุทิน 166875


ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

การวิจารณ์: มนุษยศาสตร์ในใจกลางของการศึกษาแบบองค์รวมในโลกที่ใช้เทคโนโลยี ตอนที่ 2

โลกถูกเปลี่ยนแปลงด้วยหุ่นยนต์, ปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence), การที่อุปกรณ์หรือสิ่งต่างๆๆ ถูกเชื่อมโดยอินเตอร์เน็ท ทำให้เราสามารถเปิดปิดทุกอย่างได้โดยผ่านอินเตอร์เน็ท (the Internet of things), ข้อมูลที่มีขนาดใหญ่มาก โดยข้อมูลมีความซับซ้อน และต้องใช้ซอฟแวร์ที่รองรับจัดการหรือวิเคราะห์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อการประมวลผลและนำไปใช้แบบเรียลไทม์ (big data), การจัดการการเงินแบบ block chain, การทำทุกอย่างโดยเศรษฐกิจ (the sharing economy) เช่น Uber, Grab} Alibaba, การพิมพ์แบบ 3 มิติ, รถที่มีคนขับอัตโนมัติ (autonomous vehicles), นาโนเทคโนโลยี, เทคโนโลยีทางการเงิน (financial technology)

การปฏิวัติวัฒนธรรมครั้งที่ 4 มีความสำคัญ เพราะมันรวดเร็ว และยังคงชีพอยู่ได้นาน มันส่งผลต่อทุกๆอานาเขตของมนุษย์ดังนั้นสิงคโปร์จะต้องเตรียมเยาวชนกับความรู้, ทักษะ, และความเชื่อที่ส่งผลต่อพฤติกรรม (mindset) เพื่อที่จะใช้ประโยชน์จากโอกาสใหม่ๆนี้ให้ได้ นี่คือเหตุผลว่าเหตุใดรัฐบาลจึงเน้นไปที่ STEM ที่หมายถึงวิทยาศาสตร์, เทคโนโลยี, วิศวกรรม, และคณิตศาสตร์

แต่สิ่งดังกล่าวไม่ได้ผิด แต่ยังกล่าวไม่หมด ผู้ก่อตั้งหลายคนในบริษัทนวัตกรรมใหม่ๆ ไม่ได้จบการศึกษาแบบ STEM มา เช่น ผู้ก่อตั้งและ CEO ของ Razer ชื่อ Tan Ming-Liang ไม่ได้จบการศึกษาแบบ STEM แต่เป็นกฎหมาย

แปลและเรียบเรียงจาก

Tommy Koh. Commentary: Humanities at the heart of a holistic education in a tech-driven world.



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท