อนุทิน 155454


ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

มรณกรรมของยุคหลังทันสมัย แล้วอะไรจะมาต่อหละ? ตอนที่ 6

จะมีคำอยู่หลายคำในแทนที่ตรรกะเชิงวัฒนธรรม (cultural logic) เหล่านี้ จะยกตัวคำแทนที่มาสักจำนวนหนึ่ง เช่น altermodernism, cosmodernism, digimodernism, metamodernism, performatism, post-digital, post-humanism, และที่น่าชวนหัวก็คือ post-postmodernism จะมีทั้งความหมายที่เหมือนกันและแตกต่างกันสำหรับคำเหล่านี้ (conceptualizations) กล่าวให้ง่ายก็คือพวกเขาแทนที่กันและยังแข่งขันกันไปด้วย ถึงแม้จะเป็นอย่างที่ว่า แต่ก็มีรูปแบบเชิงสไตล์ของยุคทันสมัยและยุคหลังทันสมัย (stylistic practice) และจิตสำนึกเชิงจริยธรรมที่ได้รับการฟื้นฟูขึ้นมาใหม่ (a rehabilitated ethical consciousness)

แนวโน้มทางวรรณกรรมอื่นๆที่ร่วมสมัย (literacy trends) เช่น การมีนิยายอิงประวัติศาสตร์ (popularity of historical fiction), การฟื้นคืนนิยายแบบสมจริงขึ้นมาใหม่, นิยายที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมทางสายตาและสื่อออกมาทางคอมพิวเตอร์ (visual and digital culture) ก็เป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงที่ว่านี้  จะมีนักเขียนหลายคนพยายามที่จะมาถึงวัฒนธรรมป๊อปปูล่าร์ที่เป็นยุคหลังทันสมัยในเชิงเสียดแทงนี้ให้ได้ (ironic postmodernism pop-culture) บุคคลเหล่านี้ได้แก่ Ben Lerner, Jennifer Egan, Dave Eggers, Joshua Ferris, Jonathan Franzen, Sheila Heti, Kazuo Ishiguro, Ruth Ozeki, Ali Smith, Zadie Smith and Adam Thirlwell.

แปลและเรียบเรียงจาก

Alison Gbbbons. Postmodernism is dead. What comes next?

  …………………………..



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท