อนุทินล่าสุด


ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

เปลี่ยน “บาดแผล”

ให้กลายเป็น “ความรุ่งโรจน์”



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

ความเห็นของคน 10,000 คน จะไม่มีค่าเลย

หากเขาเหล่านั้นไม่รู้อะไรเกี่ยวกับเรื่องที่กำลังถกเถียงกันอยู่!



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

เด็กๆไปในที่มีความตื่นเต้น

พวกเขาดำรงอยู่

ในที่ที่มีความรัก



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

สิ่งที่เราควรจำก็คือ

เด็กๆของเราแต่ละคนมีวิธีการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน

พวกเขาต้องเรียนในหลากหลายวิธี

เพราะพวกเขาเป็นมนุษย์!



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

เด็กชายไม่มีวันโตหรอก

ของเล่นของพวกเขา

ใหญ่ขึ้น และแพงขึ้นเท่านั้น!



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

ให้กาแฟฉัน เพราะสามารถเปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆได้

และให้ไวน์ เพราะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆได้



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

พิสูจน์ตนเอง

ให้ตนเอง

ไม่ใช่ให้ “คนอื่นๆ”



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

หา “ความหมาย” ให้ “ชีวิต”



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

การกดดันในโรงเรียน: การทำร้ายกันในหมู่นักเรียนในการศึกษาระดับประถมและมัธยม

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งที่จะอธิบายปรากฏการณ์ของการทำร้ายกัน (bullying)ในหมู่นักเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาใน Minas Geris การวิเคราะห์เชิงประจักษ์ (empirical analysis) เก็บมาจากนักเรียน 5,300 และครู 243 คนระหว่างปี 2012-2013 ข้อมูลจะถูกวิเคราะห์โดยการใช้ linear hierarchical model ความน่าจะเป็นของตัวบ่งชี้ในการทำร้ายกัน (bullying) จะถูกวิเคราะห์โดยโครงสร้าง 2 ด้าน ซึ่งวัดกับตัวนักเรียนและวัดโรงเรียน ข้อค้นพบแสดงให้เห็นว่า ในระดับปัจเจกบุคคล เกิดมาจากความไว้เนื้อเชื่อใจกันระหว่างนักเรียนกับโรงเรียน และการปฏิบัติกับพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม และในระดับโรงเรียนพบว่า คุณลักษณะเชิงบริบท เช่น ความรู้สึกพึงพอใจ ความสัมพันธ์อันดีระหว่างครูกับนักเรียน และวิธีในการระงับความขัดแย้งมีผลเป็นอย่างมาก



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

ชีวิตคือการป่ายปีน

แต่วิวข้างนี่สิ

งดงามนัก!



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

ปัตตานีในประวัติศาสตร์สมัยใหม่

ปัตตานีเป็นจังหวัดที่มีชื่อเสียงที่สุดในจังหวัดใต้ที่สุดของประเทศไทย ในขณะที่ประชากรโดยส่วนใหญ่เป็นชาวมาเลย์มุสลิม ประวัติศาสตร์ของปาตานีใหญ่ (Greater Patani—สะกดตามภาษามาเลย์) สามารถย้อนกลับไปได้ถึงในศตวรรษที่ 19 ที่ตอนนั้นวัฒนธรรมเป็นแบบฮินดูและพุทธศาสนา ประชากรเปลี่ยนมาถืออิสลามประมาณศตวรรษที่ 14 ปาตานีได้กลายมาเป็นรัฐข้าราชบริพารจากอาณาจักรอยุธยา มุสลิมมาเลย์สุหนี่ในภาคใต้ไม่เคยกลืนกลายเป็นสยามหรือไทยได้เลย ซึ่งแตกต่างจากมุสลิมชีอะห์ พวกนี้จะมาจากอาราเบียและเปอร์เซียในศตวรรษที่ 17 โดยมากจะค้าขายและติดต่อกับชาวเมือง และได้กลายเป็นชนชั้นสูงของสยามได้สำเร็จ โดยการแต่งงาน และให้บริการแก่กษัตริย์สยามจากอยุธยาในศตวรรษที่ 17 มาจนถึงอาณาจักรกรุงเทพฯเมื่อศตวรรษที่ 18 กษัตริย์สยามมักจะแต่งตั้งหัวหน้าของชุมชนมุสลิมเป็นไปจุฬามนตรี เพื่อดูแลกิจกรรมของมุลิมไทยในอาณาจักร



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

หยุดสร้างจรวดไปดาวอังคารได้แล้ว

มาปลูกต้นไม้ให้เต็มโลกกันดีกว่า!



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

ความฉลาด

หากไร้แรงกระตุ้น

ก็เหมือนกับนก

ที่ขาดปีกนั่นแหละ!



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

ดนตรี

เป็นศิลปะ

ที่ต้องฟังด้วยหู

และตรงไปที่จิตใจ!



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

ให้ความใส่ใจกับสิ่งที่คนอื่นๆคิด

คุณจะเป็นนักโทษพวกเขาไปตลอดกาล!

เหลาจื้อ



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

ละครที่เล่นอย่างลึกซึ้ง: การพรรณนาแบบเข้มข้นโดน Geertz และพิธีกรรมทางวัดของชาวบาหลี

บทคัดย่อ

Geertz มีชื่อเสียงมากในวิธีการวิเคราะห์ของเขา แต่ในศตวรรษที่ 21 ผลงานของเขาต่างถูกละทิ้งเสียเป็นส่วนใหญ่ นักปฏิสัมพันธ์ทางสัญลักษณ์ (symbolic interactionists) หลายคน โดยมากจะกล่าวอ้างถึง การพรรณนาแบบเข้มข้น (thick description) ของเขา พวกเขาเองมักจะไม่รู้จักงานที่ทำให้อินโดนีเซียหรอก แต่พวกเขาอาจรู้จักบทความที่มีชื่อเสียงของเขาที่เกี่ยวกับไก่ชนชาวบาลี (Balinese cockfight) ที่ขึ้นต้นว่า Deep play บทความนั้นคือตัวอย่างของ “การวิจัยภาคสนามในเชิงชาติพันธุ์” (model of ethnographic fieldwork) แต่เราจะต้องศึกษาสิ่งที่เขาเรียกว่า การพรรณนาแบบเข้มข้นอย่างระมัดระวัง หลังจากผ่านไป 2-3 ดหน้าแรก จะมีการพรรณนาแบบเป็นรูปธรรมน้อยลงทุกที แต่ส่วนใหญ่ในบทความนั้นจะมีแต่การพรรณนาและการวิเคราะห์ เราทำจะไม่เคยได้เห็นการพรรณนาไก่ชนชาวบาลีอย่างเป็นรูปธรรมเลย จริงๆแล้ว เราจะได้ยินการวิเคราะห์แบบประโยชน์นิยมของเจเรมี เบนทัมมากกว่า (Jeremy Bentham’s Utilitarianism) จะมีหลายสิ่งที่ขาดหายไปจากงานของเขา แต่ส่วนใหญ่จะปรากฏอยู่ในงานชิ้นอื่นๆของเขามากกว่า นักเรียนที่อ่านแต่ Deep play จะได้รับแรงดลใจแบบผิวเผินของวิธีการพรรณนาแบบเข้มข้น และอาจไม่ได้รับวัฒนธรรมของบาหลีโดยทั่วไป บทความนี้จะประคับประคองงานของ Geertz ด้วยการอภิปรายพิธีกรรมทางศาสนามากกว่าไปสนใจที่ตัวไก่ชน ฉันจะเขียนถึงสังคมชาวบาหลี และจะไม่เน้นในเรื่อง Deep play ของ Geertz นัก งานของฉันคือพิธีกรรมของชาวบาหลีที่เป็นพระ (Temple anniversary festival) เราเรียกมันว่า Adalan

แปลและเรียบเรียงจาก

J.I. (Hans) Baker. Deep play: Geertz’s “Thick Description” and a Balinese Temple Ritual (the Odalan)



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

จงอย่าสร้างสถูปหรือศาลเจ้าให้กับฉัน กรุณาอย่างนำอัฐิฉันใส่ในโกศ อย่ากักขังฉันไว้ข้างใน และจำกัดฉันว่าฉันเป็นอะไร ฉันรู้ว่าสิ่งนี้อาจเป็นสิ่งที่ยากสำหรับพวกเราบางคน แต่ถึงแม้จะสร้างสถูปขึ้นมาแล้วหละก็ กรุณาติดป้ายบนสถูปและเขียนว่า “ฉันไม่ได้อยู่ข้างใน” และเขียนป้ายแผ่นที่สองว่า “ฉันไม่ได้อยู่ภายนอก” และป้ายแผ่นที่สาม ซึ่งเขียนว่า “ฉันอยู่ที่ใดก็ได้ และจะอยู่ในการหายใจที่มีสติ และอยู่ในหนทางสร้างสันติสุขของคุณ”

ติช นัท ฮัน



ความเห็น (1)
อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

จงอย่าสร้างสถูปหรือศาลเจ้าให้กับฉัน กรุณาอย่างนำอัฐิฉันใส่ในโกศ อย่ากักขังฉันไว้ข้างใน และจำกัดฉันว่าฉันเป็นอะไร ฉันรู้ว่าสิ่งนี้อาจเป็นสิ่งที่ยากสำหรับพวกเราบางคน แต่ถึงแม้จะสร้างสถูปขึ้นมาแล้วหละก็ กรุณาติดป้ายบนสถูปและเขียนว่า “ฉันไม่ได้อยู่ข้างใน” และเขียนป้ายแผ่นที่สองว่า “ฉันไม่ได้อยู่ภายนอก” และป้ายแผ่นที่สาม ซึ่งเขียนว่า “ฉันอยู่ที่ใดก็ได้ และจะอยู่ในการหายใจที่มีสติ และอยู่ในหนทางสร้างสันติสุขของคุณ”

ติช นัท ฮัน



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

การปรับปรุงครั้งที่สามนี้ ได้แก้ไขคำผิดมากมาย ตลอดส่วนที่ขาดตกบกพร่องไป ส่วนใหญ่ได้รับคำชี้แนะจากนักอ่าน มีอยู่หลายช่วงที่เขียนเพิ่มเติมใหม่ เป็นผลจากการดูดซับรับมาจากนักวิจารณ์ ตลอดจนข้อสรุปจากการเสวนา หากยังมีข้อที่บกพร่องเด่นชัดไม่สามารถแก้ไขได้ ด้วยข้อจำกัดในภูมิปัญญาของผู้แต่ง ซึ่งไม่อาจทำอย่างไรได้ แม้ว่านักอ่านทั้งหลายพบเห็นข้อผิดพลาดและส่วนที่ไม่ครบถ้วนจากหนังสือ โปรดเขียนจดหมายถึงข้าพเจ้า ข้าพเจ้าถือว่านักอ่านทุกท่านล้วนเป็นสหาย คำชี้แนะและความเอื้ออาทรของสหายทั้งหลาย ย่อมได้รับการตอบรับด้วยความยินดีตลอดไป

กิมย้ง

เมษายน ค.ศ. 2002

ฮ่องกง

หมายเหตุ

กิมย้งเขียน อี้เทียงตู้เล้งกี่ ในปี 1965 (พ.ศ. 2508) ปรับปรุงอีกครั้งในปี 1977 (พ.ศ. 2520) ซึ่งเป็นฉบับเดียวกับที่ผมอ่าน แปลโดยจำลอง พิศนาคะ และน.นพรัตน์ ต่อมาปรับปรุงอีกเป็นครั้งที่สามจำหน่ายในปี 2005 (พ.ศ. 2548)



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

จงอย่าคร่ำเคร่ง

กับตัวคุณเองให้มากนัก

ปีนี้

ไม่ใช่ปีของการศึกษาตามปกติหรอก!



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

….ท่านหลีบอกว่า การเขียนนวนิยายเหมือนกับการเล่นเปียโน ไม่มีทางลัดใดทั้งสิ้น หากแต่เดินขึ้นไปทีละขั้น ต้องผ่านการฝึกฝนอย่างหนักวันแล้ววันเล่า ถ้าอ่านหนังสือไม่มากพอจะทำไม่ได้

ข้าพเจ้าเห็นด้วยกับทรรศนะข้อนี้ ทุกวันข้าพเจ้าจะอ่านหนังสืออย่างน้อยสี่ห้าชั่วโมง โดยไม่ว่างเว้นมาก่อน หลังจากที่เกษียณตัวเองจากสำนักงานหนังสือพิมพ์ ก็พากเพียรศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยทั้งในและนอกประเทศ หลายปีมานี้ถึงแม้ว่าความรู้วิชาการและความเข้าใจมีความก้าวหน้า หากทว่าปัญญายังไม่เพิ่มพูน และเพราะเหตุนี้นวนิยายเหล่านี้แม้ว่าแก้ไขปรับปรุงถึงครั้งที่สาม เชื่อว่าผู้อ่านจำนวนมากอ่านแล้วยังถอนหายใจออกมา

กิมย้ง



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

ใจที่มีความสุขเท่านั้น

ที่ทำได้แบบนี้!



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

ซึ่งความจริงแต่ละชนชาติ แต่ละศาสนา ทุกสาขาอาชีพมีทั้งคนดีและคนเลว มีฮ่องเต้ที่ไม่อยู่ในศีลในธรรม และมีฮ่องเต้อันประเสริฐ มีขุนนางกังฉิน และมีขุนนางตงฉินที่รักและห่วงใยราษฎร ชาวฮั่น ชาวแมนจู ชาวคีตัน ชาวมองโกล ชาวทิเบตในหนังสือ มีทั้งคนดีและคนเลว ในเหล่าหลวงจีน นักพรต ลามะ นักศึกษา และนักบู๊ มีบุคลิกและลักษณะนิสัยต่างๆ นักอ่านบางคนชอบแบ่งผู้คนจากหนึ่งเป็นสอง แบ่งแยกความดีเลวอย่างชัดแจ้ง ขณะเดียวกันก็นำเอาส่วนบุคคล ทำการอนุมานภาพรวมทั้งหมด นั่นหาใช่เจตนาดั้งเดิมของผู้แต่งไม่

ข้าพเจ้าเขียนนวนิยายกำลังภายใน จุดประสงค์เพื่อสลักเสลาลักษณะนิสัย บรรยายถึงความดีหม่นหมอง ความหรรษาโศกศัลย์ในผู้คน นวนิยายไม่ต้องการสื่อถึงอะไร ถ้าหากมีการประณาม ต้องเป็นด้านมืดที่ต่ำช้าในนิสัยใจคอผู้คน

กิมย้ง



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

อย่าไปยึดติดกับสิ่งใด

ทุกๆสิ่งจะทำให้คุณมีความสุข!



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

ตอนแรกที่ข้าพเจ้าเขียนนวนิยาย มีความยึดมั่นต่อรางวงศ์ของชาวฮั่นอย่างแรงกล้า จวบกระทั่งตอนท้าย ค่อยยึดถือว่าแต่ละชนเผ่าของชนชาติจีนเสมอภาคกัน เป็นเพราะมุมมองทางประวัติศาสตร์ของข้าพเจ้ามีความก้าวหน้าขึ้น

ซึ่งปรากฏให้เห็นเด่นชัดในผลงานเรื่องเทียนเล้งโป๊ยโป้ว แป๊ะแบ๊เซ่าไซฮวง และเรื่องเต็กเตี่ยกี่ บิดาของอุ้ยเซี่ยวป้ออาจเป็นชาวฮั่น ชาวแมนจู ชาวมองโกล ชนเผ่าอิสลามหรือชาวทิเบตก็ได้ แม้แต่ในนวนิยายเรื่องแรกคือจือเกี่ยมอึงชิ้วลก ตัวเอกตั้งแกลก ในภายหลังก็ทำความเข้าใจและมีความรู้สึกที่ดีต่อศาสนาอิสลามมากกว่าเดิม

กิมย้ง



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท