ผู้สูงอายุ...สังคมอนาคต...กับกระบวนการปรับเปลี่ยนกรอบวิธีคิด


หากมีใครมอง...คนแก่...ด้วยสายตาที่บอกว่า...แก่แล้วนะเป็นปกติภาวะ...ก็จะบาดลึกเข้าไปในจิตใจ...บางคนถึงกับกล่าวหาว่า..หยาบคาย

 หากใครได้ดูโครงสร้างประชากรในปัจจุบัน...แล้วทำนายอนาคตเบื้องหน้าของโครงสร้างประชากรไทย... ไม่มีใครกล้าปฏิเสธว่า...ในไม่ช้าเราจะมีสังคมสูงอายุเกิดขึ้น...และเป็นสังคมที่เติบโตต่อไปอีกหลายช่วงอายุคน... <p>http://gotoknow.org/file/sorn_kh/%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B8.JPG</p><p></p>หากมีใครมอง...คนแก่...ด้วยสายตาที่บอกว่า...แก่แล้วนะเป็นปกติภาวะ...ก็จะบาดลึกเข้าไปในจิตใจ...บางคนถึงกับกล่าวหาว่า..หยาบคาย... <p> </p><p>กรอบความคิดเดิมของสังคมไทย...แม้แต่ตัวผู้สูงอายุเอง(กลางวงกลม) ส่วนใหญ่ก็ยังมองตนเองแบบไร้คุณค่าความหมาย...ไม่มีใครต้องการ...ครอบครัว...ชุมชน...สังคม...ล้วนแต่มีมุมมองไปในเชิงลบเป็นส่วนใหญ่…</p><p> </p><p>แล้วผู้สูงอายุที่ต้องมีสังคมเติบใหญ่ภายในเวลาไม่ช้านี้...ท่านจะยืนอยู่บนเส้นทางใด...???? </p><p> </p><p>http://gotoknow.org/file/sorn_kh/%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%98%E0%B8%87.JPG</p><p> </p><p>เรามาร่วมกันสร้างกรอบวิธีคิดใหม่...ด้วยการปักธงเป้าหมายสุดท้าย...เพื่อร่วมกระบวนการปรับเปลี่ยนกรอบวิธีคิดใหม่ให้ผู้สูงอายุกันดีไหม…</p><p> </p><p>http://gotoknow.org/file/sorn_kh/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B8.JPG</p><p> </p><p>สถาบันพัฒนาสี่แยกอินโดจีน…ขอเชิญชวนบล็อกเกอร์โกทูโนร่วมวิจารณ์และพากันเดินสู่เป้าหมายปรับเปลี่ยนกรอบวิธีคิดใหม่…เพื่อสังคมผู้สูงอายุที่จะมาเยือนเรา(ตัวเราด้วย)ในไม่ช้านี้ครับ….</p>

หมายเลขบันทึก: 96383เขียนเมื่อ 15 พฤษภาคม 2007 15:24 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 มิถุนายน 2012 14:19 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (9)
น่าสนใจมากค่ะ มุมมองเหล่านี้มีมุมมองจากผู้สูงอายุเองรวมอยู่ด้วยไม๊ค่ะ
P

ขออภัยและยินดีรู้จักครับ...

 

คุณมัทนาเข้ามาเร็วมากตั้งแต่ช่วงที่ผมกำลังแก้ไขบันทึกเลยทีเดียว...ยินดีมากครับ...

 

เป็นการมองที่รอบคอบมากครับ...ใช่ครับ....กลางสุดคือมุมมองที่ผู้สูงอายุมองตนเอง...

 

ขณะนี้ผมกำลังเสนอ...

โครงการเปลี่ยนกรอบวิธีคิดของสังคมไทยต่อผู้สูงอายุ
นำร่อง 10 จังหวัดภาคเหนือและ กทม.
(พิษณุโลก สุโขทัย เพชรบูรณ์ พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี อุตรดิตถ์ ตาก แพร่ น่าน)
ใครอยู่ในจังหวัดเหล่านี้ขอเชิญร่วมเวทีด้วยนะครับ...
P

ประเด็นนี้ สำคัญ...

เจริญพร

P
พระอาจารย์ครับ...ทำไว้สำหรับอนาคตของพวกเราเองครับ...555

มันอยู่ที่บทบาทผู้สูงอายุเอง  ถ้าทำตัวเป็นประโยชน์  ชุมชนและสังคมก็จะยอมรับ  อยากให้มาร่วมกิจกรรมด้วย

ถ้างุ่มง่าม ขี้บ่น มากเรื่อง  วุ่นวาย  พูดกันไม่รู้เรื่อง  เขาก็อยากให้อยู่บ้าน  รอ........ 

คิดว่าอายุ 60 จะลงแข่งฮาลฟ์มาราธอน    70 จะลงแข่งมาราธอน    80 จะลงๆไก่สามอย่าง ( ไตรกีฬา ) อิอิ

นายขำแก่ตัวแล้วรู้สึกว่าจะขยันเขียน blog มากขึ้นนะ

P

55555...ผมจะคอยเอายาดมไปให้ตอนอายุ 60...

 

จะเอารถพยาบาลไปรอตอนอายุ 70...

 

อายุ 80 ก็เอารถมูลนิธิประสาทฯไปละกันครับ...555

 

ช่วงนี้ผมจะเขียนเกี่ยวกับเรื่องงานที่จะทำจริง ๆ ครับ...คงหาเวลาเขียนเรื่องประโลมโลกได้น้อยลง...รออีก 6 เดือนครับอาจารย์หมอสุธีที่เคารพ...

ผมมีประเด็นที่น่าสนใจ 

 

ลองมองดูสิว่า  ผู้เฒ่าที่สถานคนชรา กับ  เด็กที่ถูกทอดทิ้ง   หากมาอยู่ใกล้ๆกัน   จะเกื้อกูลกันมากน้อยอย่างไร?   

ผู้เฒ่า เขาจะรู้สึกมีคุณค่าหรือเปล่า

เด็กน้อย จะรู้สึกอบอุ่นขึ้นหรือเปล่า.....

 

ลองยกประเด็นนี้ไปคุยดูสิครับ  

MR.BHUDIT EKATHAT

น่าทดลองนะครับ...

ในชนบท...ภาพที่เห็นก็เป็นแบบนี้มากแล้วนะครับ...ปู่ย่า-ตายายเลี้ยงหลานอยู่บ้าน...คนวัยแรงงานไปทำงานในเมือง  .เราก็เห็นว่าส่วนใหญ่ผู้สูงอายุก็สุขใจที่ได้อยู่กับหลาน...

 

แต่นั่นเป็นความผูกพันเครือญาติ....น่าทดลองดูเหมือนกันครับ...ว่าถ้าเอาคนสองกลุ่มมาเจอกัน(ผู้เฒ่าที่สถานคนชรา กับ  เด็กที่ถูกทอดทิ้ง)   ....อะไรจะเกิดขึ้น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท