Sample Size สำหรับ Prevalence Study (Cross-Sectional Descriptive Study) และ Screening Test


บางบทความเขียนว่า P 50% ได้ค่า Sample Size มากที่สุด (ควรทำความเข้าใจอย่างระมัดระวัง)
  1. Sample Size สำหรับการประมาณค่าสัดส่วน (Proportion Estimate)

สำหรับ Prevalence Study (เช่น Survey, Cross-Sectional Descriptive Study)

เลือกตัวอย่างแบบ Random เพื่ออ้างอิงกลับคืนไปที่ประชากร (Inferential Statistics)

บางบทความเขียนว่า P 50% ได้ค่า Sample Size มากที่สุด (ควรทำความเข้าใจอย่างระมัดระวัง)

1) ถ้า Q = (1- P) ถ้า P มีค่าน้อย เช่น P = 0.01 (P = 1%)ในโรคที่พบน้อย (in a rare disease)
Sample Size จะมากกว่าที่ P = 0.5 (P = 50%)
Sample Size สำหรับ Screening test, Sensitivity, Specificity ใช้สูตรคำนวณนี้เช่นเดียวกัน
ถ้าคำนวณ Sample Size แบบ Finite Population จำนวน Sample Size จะลดลง

2) ค่า Z ที่ Alpha/2 หรือในบางสูตรคำนวณ เขียนระบุว่า Z Alpha แบบ 2-sided คือ Za/2 = 1.96

3) d = 5% ในขณะที่ P = 50% หมายถึง ถ้า 45% ถึง 55% ยอมรับค่านี้ได้

4) ถ้าแบบ Cluster Sample Size จะต้องคูณด้วย Design Effect ตามที่บทความได้กล่าวถึงไว้ด้วย
โปรแกรม OpenEPI จะมีช่องให้ใส่ค่า Design Effect (for cluster surveys-DEFF)
ถ้าเป็นแบบ random sampling : design effect = 1
ถ้าเป็นแบบ cluster sampling : design effect = 2 (2 to10)
Source: http://www.openepi.com/PDFDocs/SSProporDoc.pdf

Source : http://www.kck.usm.my/ppsg/aos/Vol_1/09_14_Ayub.pd...

ถ้า n/N มากกว่า 5% เลือกใช้ Finite Population Correction

L.Naing, T.Winn, B.N.Rusli. Practical Issues in Calculating the Sample Size for Prevalence Studies
Medical Statistics, Archives of Orofacial Sciences 2006; 1: 9-14
http://www.kck.usm.my/ppsg/aos/Vol_1/09_14_Ayub.pdf



คำนวณค่า Sample Size จาก Website Javascript

https://dl.dropboxusercontent.com/u/1999671/EPI_56...

เช่น P = 14 / 1000, % P = 1.4, % d = 0.7 sample size = 1083
ถ้ามีทศนิยมให้ปัดเศษเป็นเลขจำนวนเต็มแบบปัดเศษขึ้น



ในบทความนี้ ค่า e คือ acceptable error


อรุณ จิรวัฒน์กุล. ขนาดตัวอย่างและความกระชับของการประมาณค่าสำหรับการศึกษาความชุก
วารสารวิชาการสาธารณสุข ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 พย. - ธค. พ.ศ.2555
http://thailand.digitaljournals.org/index.php/JHS/article/view/14406

อรุณ จิรวัฒน์กุล. การเลือกค่าพารามิเตอร์สำหรับคำนวณขนาดตัวอย่างเพื่อการประมาณค่าสัดส่วน
วารสารวิชาการสาธารณสุข. ปีที่ 14 ฉบับที่ 2. มีค - เมย พ.ศ.2548
http://thailand.digitaljournals.org/index.php/JHS/article/view/15307

ตัวอย่าง
การอ้างอิงจาก 1 Proportion (ที่เป็น Sample) กลับคืนไปที่ประชากร
https://www.gotoknow.org/posts/521160

หมายเลขบันทึก: 584396เขียนเมื่อ 23 มกราคม 2015 07:11 น. ()แก้ไขเมื่อ 25 สิงหาคม 2015 06:23 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท