ภาษาถิ่นเหนือ เพื่อเธอ คำว่า มะ ก้วย เตด มะมั่น มะก้วยก๋า มะก้วยแก๋ว มะก้อ ดอกคำปู็จู้คือดอกดาวเรือง


มะ ก้วย เตด มะละกอ. , มะก้วยก๋า มะมั่น มะแก๋ว ฝรั่ง มะก้อ คือ ทับทิม ดอกคำปู็จู้ ดอกดาวเรือง

มะ ก้วย เตด  หมายถึง  มะละกอ


 

          มะ ก้วย เตด  แขกดำ  หวาน ลำขนาดเน่อเจ้า หมายถึง มะละกอ แขกดำ อร่อย มากๆ นะจ๊ะ

ลำ หมายถึง อร่อย 

 

ใช้ทำอาหาร ผัด มะก้วยเตด


แกงส้มมะก้วยเตด

ส้มตำ มะก้วยเตด

มะมั่น มะก๋วยก๋า มะก้วยแก๋ว หมายถึง  ฝรั่ง

ลำปาง เรียก บ่า มั่น

เชียงราย เชียงใหม่ ลำพูน เรียก บ่า ก้วยก๋า

น่าน เรียก มะก้วยแก๋ว

พ่ออุ้ยที่บ้านฉัน ใช้ใบมะมั่น เจ็ดใบ ต้มในน้ำสามกระบวยให้เดือด ดื่มแก้อาการท้องเดินท้องเสีย ได้ผลชะงักดีนักแล

ทับทิม ภาษาถิ่นเชียงราย ลำพูน เชียงใหม่ เรียก มะก้อ

ทับทิม  ภาษาถิ่น น่าน เรียน  มะก็องแก็ง

ป้ออุ้ย แม่อุ้ย ที่น่านบอกว่า บ้านใดปลูกต้นมะก็องแกงไว้ที่บ้าน ถือว่าเป็นไม้มงคล คนในบ้านนั้นจะอยู่ดีมีสุข

(ป้ออุ้ย แม่อุ้ย คือ ปู่ย่า ตายาย) 

ดอกคำปู้จู้     คือ  ดอกดาวเรือง


หมายเลขบันทึก: 470504เขียนเมื่อ 6 ธันวาคม 2011 16:15 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 มิถุนายน 2012 01:25 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท