SWIT
สถาบันวิจัยและพัฒนาเพื่อการเฝ้าระวังสภาวะไร้รัฐ .

สิทธิของผู้ลี้ภัย


ตาม อนุสัญญาว่า้ด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย ๑๙๕๑ แก้ไขโดยพิธีสารว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย ๑๙๖๗

แบ่งได้ ๓ ระดับคือ

๑.ระดับการปฏิบัติต่อผู้ลี้ภัยเช่นเดียวกับคนชาติ (National Treatment)
(ก) เสรีภาพในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา แะการให้ศึกษาทางศาสนาแก่บุตรหลาน (ข้อ ๔)
(ข) สิทธิในศิลปกรรม และทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม (Artist Rights and Industrial Property ข้อ ๑๔)
(ค) สิทธิในการนำคดีขึ้นสู่ศาล (ข้อ ๑๖ Access to Court)
(ง)การปันส่วน (ข้อ 20 Rationing)
(จ) การศึกษาของรัฐขั้นพื้นฐาน (Element Education ข้อ 22 (1) )
(ฉ) การบรรเทาทุกข์สาธารณ (Public Relief ข้อ 23)

(ช) กม.แรงงาน และการประกันสังคม (ข้อ 24, Labour Legistration and Social Security)
(ซ) ภาษีเงินได้แผ่นดิน (ข้อ 29, Fiscal Charge)

๒.ระดับการปฏิบัติต่อผู้ลี้ภัยเช่นเดียวกับชาติที่ได้รับอนุเคราะห์ยิ่ง (Most Favourable Treatment)

  • สิทธิในการเข้าร่วมสมาคม (Right to Association, ข้อ 15)
  • การรับจ้างเพื่อแรงงาน (Wage-Earning Employment ข้อ 17)

๓.ระดับการปฏิบัติต่อผู้ลี้ภัยเท่าที่จะทำได้และไม่ว่าเหตุการณ์ใดๆ ก็ตาม ไม่ด้อยไปกว่า การปฏิบัติต่อคนชาติโดยทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน (Treatment as Favourable as Possible)

  • สิทธิเกี่ยวกับสังหาริมทรัพย์

 

หมายเลขบันทึก: 258185เขียนเมื่อ 29 เมษายน 2009 16:12 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 พฤษภาคม 2012 16:14 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท