นิ่มอนงค์
รองศาสตราจารย์ ดร. นิ่มอนงค์ ตานะเศรษฐ งามประภาสม

นิ่มอนงค์


รองศาสตราจารย์
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Username
nimanong
สมาชิกเลขที่
16786
เป็นสมาชิกเมื่อ
เข้าระบบเมื่อ
ประวัติย่อ

        

ภูมิลำเนาอำเภอแม่สะเรียงจังหวัดแม่ฮ่องสอน

ประวัติการศึกษา

จบประถมศึกษาที่โรงเรียนทองสวัสดิ์วิทยาคาร รุ่นประถมศึกษาปีที่ 1-7  

จบมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.ศ.3) ที่โรงเรียนมัธยมบริพัตรศึกษา (โรงเรียนตั้งอยู่ที่ที่ว่าการอำเภอแม่สะเรียงตอนนี้)

จบมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.ศ.4-5)ที่โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ

·อนุปริญญาพยาบาลและผดุงครรภ์อนามัย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่   

วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา สุขศึกษา คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา สุขศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล  

 ประชากรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล 

ประสบการณ์การทำงาน

พยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ (ตึกออร์โทปิดิกส์2) ทบวงมหาวิทยาลัย

  พยาบาล โรงพยาบาลแม่สะเรียง (ยุคบุกเบิกย้ายจากสถานีอนามัยชั้นหนึ่ง(สุขศาลา)(ที่ทำการสสอ.ปัจจุบัน) มาเป็นโรงพยาบาล(จอมแจ้ง) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแม่ฮ่องสอน

นักวิชาการสุขศึกษา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่ 

          นักวิชาการสุขศึกษา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแม่ฮ่องสอน(2534)

          โอนย้ายเป็นอาจารย์สังกัดคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทบวงมหาวิทยาลัย ขณะเรียนปริญญาเอก (2541)

 

ประสบการณ์ด้านการบริหาร

 

-กรรมการสภาอาจารย์ 2 วาระ ระหว่างปี พ.ศ. 2545-2546 และ 2547-2548

 

-ดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการ สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระหว่างปี พ.ศ.2548-2551

 

-ดำรงตำแหน่งคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระหว่างปี พ.ศ. 2552-2554

ถูกถอดถอนจากการตำแหน่งคณบดี เมื่อวันที่ 23 กรกฏาคม 2554

ยื่นฟ้องสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่และพวก ต่อศาลปกครองจังหวัดเชียงใหม่เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2554 เลขคดีที่ 327/2554

 

 

วิทยากร

 

-เป็นผู้ตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา

 

-วิทยากรด้านการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) การจัดการภาครัฐแนวใหม่ การบริหารความเสี่ยงยุทธศาสตร์

 

-เป็นผู้ตรวจประเมินคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับงานวิชาการ·

 

ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย (ระหว่างปี พ.ศ. 2548- ปัจจุบัน)

 

  • วิจัยด้านประชากร จังหวัดแม่ฮ่องสอน
  • วิจัยด้านการประเมินผลหลักสูตร
  • วิจัยประเภทการสังเคราะห์เนิ้อหา

เอกสารวิชาการที่เป็นบรรณาธิการ

ตำรา

เอกสารประกอบการเรียนวิชา "สวัสดิศึกษา" 

เอกสารประกอบการเรียนวิชา "หลักการสุขศึกษาและการส่งเสริมสุขภาพ"

รายงานการวิจัย

1.การพัฒนาศักยภาพของเครือข่ายวิจัยการศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2554, 2554

2. สถานการณ์การบริหาร สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วิจัยสถาบัน, 2551

3.รายงานข้อมูลทั้งหมด 10 ฉบับ (ข้อ 1- 10) ต่อไปนี้เป็นผลงานโครงการย่อยในโครงการวิจัยในโครงการระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อการพัฒนาและการจัดการทรัพยากรจังหวัดแม่ฮ่องสอน มีรศ.ดร.ศักดา จงแก้ววัฒนา เป็นหัวหน้าโครงการ ผศ.ดร.ถาวร อ่อนประไพ ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  ดำเนินการศึกษาระหว่างปีพ.ศ.2548- 2550. ได้รับทุนสนับสนุนจาก สกว.

 

3.1.รายงานข้อมูลระดับแนวโน้มและพลวัตประชากร อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน (เล่มที่ 8) ในระหว่างปี พ.ศ. 2513-2558

 

 

3.2 รายงานข้อมูลระดับแนวโน้มและพลวัตประชากร อำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน (เล่มที่ 7) ในระหว่างปี พ.ศ. 2513-2558

 

 

3.3 รายงานข้อมูลระดับแนวโน้มและพลวัตประชากร อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน (เล่มที่ 6) ในระหว่างปี พ.ศ. 2513-2558

 

 

3.4 รายงานข้อมูลระดับแนวโน้มและพลวัตประชากร อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน (เล่มที่ 5) ในระหว่างปี พ.ศ. 2513-2558

 

 

3.5 รายงานข้อมูลระดับแนวโน้มและพลวัตประชากร อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน (เล่มที่ 4) ในระหว่างปี พ.ศ. 2513-2558

 

 

3.6 รายงานข้อมูลระดับแนวโน้มและพลวัตประชากร อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ในระหว่างปี พ.ศ. 2513-2558(เล่มที่ 2)

 

 

3.7 รายงานข้อมูลระดับแนวโน้มและพลวัตประชากร จังหวัดแม่ฮ่องสอนในระหว่างปี พ.ศ. 2513-2558 เป็นผลงานจากการวิจัยในโครงการระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อการพัฒนาและการจัดการทรัพยากรจังหวัดแม่ฮ่องสอน (เล่มที่ 1). เชียงใหม่, 2550. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (

 

 

3.8 รายงานข้อมูลระดับแนวโน้มและพลวัตประชากร อำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน (เล่มที่ 3)

 

 

3.9 การคาดประมาณประชากรของจังหวัดแม่ฮ่องสอน ปี พ.ศ.2548-2558 (ฉบับเดือนพฤศจิกายน 2549) เป็นผลงานจากการวิจัยในโครงการระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อการพัฒนาและการจัดการทรัพยากรจังหวัดแม่ฮ่องสอน. เชียงใหม่, 2550. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

 

 

3.10. การศึกษาระดับแนวโน้มโอกาสทางการศึกษาของประชากรวัยเรียนจังหวัดแม่ฮ่องสอน นำเสนอแบบโปสเตอร์. การประชุมวิชาการประจำปี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หอประชุมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2550. (บทความวิชาการเสนอในการประชุมวิชาการ)

 

 

 

4.การสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการองค์การบริหารส่วนตำบล

 4.1 การประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลเปียงหลวง  อำเภอเวียงแหง  จังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2553, 2553

4.2 การประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลแสนไห อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: องค์การบริหารส่วนตำบลแสนไห อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่, ปีงบประมาณ 2553, 2553.

4.3

การสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการองค์การบริหารส่วนตำบลแสนไห อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: องค์การบริหารส่วนตำบลแสนไห อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่, 2552.

 

 

4.4 การสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการองค์การบริหารส่วนตำบลแสนไห อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: องค์การบริหารส่วนตำบลแสนไห อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่, 2551. )

 

 

4.5 การสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการองค์การบริหารส่วนตำบลแสนไห อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: องค์การบริหารส่วนตำบลแสนไห อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่, 2550. 80 หน้า (รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย)

 

 

 

5. ความคิดเห็นเรื่อง ความเข้าใจและความพร้อมในการเตรียมรับ พรบ. ในกำกับของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ . เชียงใหม่ : สภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2548. 70 หน้า (รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย)

 

 

6.การสำรวจความคิดเห็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ . เชียงใหม่: สภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2548. 70 หน้า (รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย)

 

 

7.การสำรวจความคิดเห็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ . เชียงใหม่: สภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2548. 60หน้า (รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย)

 

 

8.โครงการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้บริการของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานปีงบประมาณ 2547 กระทรวงแรงงาน. เชียงใหม่: กระทรวงแรงงาน; 2548. 70 หน้า (รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย)

 

 

9.การประเมินผลหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่: ; 2548. 159 หน้า (รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย)

 

 

10.การสังเคราะห์งานการค้นคว้าแบบอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2544 – 2547. เชียงใหม่; 2548. 143 หน้า (รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย)

 

 11.รายงานการศึกษาเพื่อพัฒนาหอพักอบอุ่นและน่าอยู่ กองกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.. เชียงใหม่: กองกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2546. 40หน้า (รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย)

12.รายงานการวิจัยเรื่องการสังเคราะห์วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการส่งเสริมสุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีพ.ศ. 2536-2543. เชียงใหม่: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2545. 113หน้า (รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย)

 13.The First Sexual Intercourse of Thai Men วิทยานิพนธ์หลักสูตรประชากรศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต. กรุงเทพมหานครฯ: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล; 2544. 160หน้า (รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย)

14.โครงการวิจัยเพื่อสร้างพื้นฐานการพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงานภาคเอกชน : กรณีศึกษาสี่จังหวัดภาคเหนือ. เชียงใหม่: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ; 2542. 180หน้า (รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย)

22.การศึกษาพฤติกรรมสุขภาพชาวเขาเผ่าม้ง จังหวัดแพร่ . แพร่: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่ กระทรวงสาธารณสุข ; 2537. 110หน้า (รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย)

23.การสำรวจแบบเร่งด่วนในงานสายส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดแพร่ . แพร่: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ; 2537. 80หน้า (รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย)

24.บทบาทสตรีในการแก้ไขปัญหาน้ำหนักเด็กอายุ 0-5ปี ต่ำกว่าเกณฑ์ของชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง จังหวัดแพร่. แพร่: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ; 2536. 120หน้า (รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย)&lt

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท