บันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ 6.2


บันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
“ KM workshop เพื่อพัฒนาคุณภาพอุดมศึกษาในเขตภาคเหนือตอนล่าง”
วันจันทร์ที่ 21 พฤษภาคม 2550
ณ ห้อง Main Conference ศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (CITCOMS)

ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

เกณฑ์ขั้นต่ำของแต่ละตัวบ่งชี้

         กลุ่ม 1 กลุ่มสถาบันเน้นการผลิตบัณฑิตและวิจัย   (-5.99)-5.99)% ของเกณฑ์ 
         กลุ่ม 2 กลุ่มสถาบันเน้นการผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคม   (-5.99)-5.99)% ของเกณฑ์ 
         กลุ่ม 3 กลุ่มสถาบันเน้นการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปะและวัฒนธรรม   (-5.99)-5.99)% ของเกณฑ์ 
         กลุ่ม 4 กลุ่มสถาบันเน้นการผลิตบัณฑิต (-5.99)-5.99)% ของเกณฑ์

ข้อมูลที่ต้องจัดเก็บในตัวบ่งชี้นั้น ๆ

         1. จำนวนอาจารย์ประจำในปีการศึกษานั้น (อาจารย์ปฏิบัติงานจริง)  
         2. จำนวนนักศึกษาที่เรียนเต็มเวลา ในปีการศึกษานั้น  
         3. จำนวนรายวิชาและหน่วยกิตของรายวิชาที่เปิดสอนและจำนวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในแต่ละรายวิชา โดยจำแนกตามป.ตรี/โท/เอก

วิธีเก็บข้อมูล และหลักฐานที่สะดวก ถูกต้อง และเชื่อถือได้

         1. ฐานข้อมูลการลงทะเบียนของนักศึกษา  
         2. นำระบบของฐานข้อมูลจากงานทะเบียนมาประมวลผล

ข้อควรระวังที่อาจจะเกิดความเข้าใจผิดในการตีความ (ถาม-ตอบ)

         1. ควรคิดจำนวนอาจารย์ประจำโดยนำจำนวนอาจารย์พิเศษมาคิดด้วยหรือ?  
         2. จำนวนอาจารย์ประจำคิดรวมกับอาจารย์พิเศษด้วยหรือไม่?  
         3. นิยามคำว่า “อาจารย์ประจำ” ของแต่ละมหาวิทยาลัยแตกต่างกัน

ปัญหากรณีที่ได้คะแนนไม่ถึงเกณฑ์ขั้นต่ำ 

         -

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาให้ได้ตามเกณฑ์ขั้นต่ำ

         -

ข้อเสนอแนะเพื่อความเป็นเลิศในแต่ละตัวบ่งชี้

         -

Note Taker :
จิตติพร   การกุศล
(คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร)

 

หมายเลขบันทึก: 97774เขียนเมื่อ 22 พฤษภาคม 2007 11:00 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 มีนาคม 2012 09:32 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท