Workshop KM ของสำนักงานควบคุมโรคที่ 6 ขอนแก่น (5)


การบันทึกขุมความรู้ของคุณลิขิตบันทึกอย่างไร ไม่ใส่ความคิดเห็นของตนเอง บันทึก “ คำพูดที่สำคัญ ”

                  ในการทำกิจกรรมกลุ่มในวันที่ 27-28 มีนาคม 2550 ที่จังหวัดอุดรธานี  ซึ่งจัดโดย สคร. 6 ขอนแก่น ได้มีการแบ่งกลุ่มเป็นจังหวัดๆ มีสรุปกิจกรรมกลุ่มของกลุ่มจังหวัดมหาสารคามนำเสนอในการประชุมเชิงปฏิบัติการการสร้างแกนนำและพัฒนาฯ28  มีนาคม  2550

 

สมาชิกกลุ่มจังหวัดมหาสารคาม
1 นายกฤษฎ์  โพธิ์ศรี             2. นายบุญชอบ  สิงห์คำ
3. นายศิริพันธ์   ศรีกงพลี       4 . ..อภิสรา  คำวัฒน์
5. .ส ศิริลักษณ์  ศิริมงคล
6. นางสายเงิน  ป้อมนาค


วิทยากรกลุ่ม  .. กังสดาล  สุวรรณรงค์

 

KVมหาสารคามมุ่งสู่เมืองสะอาดที่สุดในประเทศไทย

 ขุมความรู้ (KA)( จากการทำสุนทรียสนทนาได้ขุมทรัพย์ความรู้ KA อะไรบ้าง )*     การดูแลเด็ก*     การปราบยาเสพติด*     การลดละเลิกอบายมุข*     การชดใช้หนี้สิน

*     มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

 ขั้นตอนในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้*     เริ่มโดยการสร้างสัมพันธภาพโดยการแนะนำตนเอง / ชื่อ /  เรื่องส่วนตัว ฯลฯ*     การทำ BAR (Before  Action  Review)ความคาดหวังของสมาชิกกลุ่ม

*     การทำ  AI  ( Appreciative Inquiry)( ความประทับใจซึ่งกันและกัน / ความสำเร็จในอดีต )

 ข้อแตกต่างของเวทีKMกับเวทีประชุมอื่นๆ*      ต่างกันที่รูปแบบ  /  กระบวนการ*      KM ไม่ตีกรอบความคิดของสมาชิกในเวทีแลกเปลี่ยน*      การพูดคุยกันในสิ่งที่ดีๆเกิดความสุขหลังจากได้พูดคุย

*      การดึงจุดเด่น

 บทบาทสำคัญของคุณอำนวยในการทำกลุ่ม*     ต้องกระตุ้นให้สมาชิกกลุ่มแสดงความคิดเห็น*     ฟังอย่างตั้งใจ*     เคารพความคิดเห็นของสมาชิก*     ควรปิดเครื่องมือสื่อสารในขณะทำกลุ่ม*     ควรเป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์

*     อำนวยความสะดวกให้สมาชิกกลุ่ม

 บทบาทสำคัญของคุณกิจในการทำกลุ่ม*     ร่วมแสดงความคิดเห็น*     ตั้งใจฟัง  และเคารพการตัดสินใจของผู้อื่น

*     ยอมรับความคิดเห็น  หรือมติที่ประชุม

 การบันทึกขุมความรู้ของคุณลิขิตบันทึกอย่างไร*     จับประเด็นสำคัญ*     มีทักษะการบันทึกที่รวดเร็ว*     ไม่ใส่ความคิดเห็นของตนเอง*      เขียนให้ผู้อื่นสื่อสารเข้าใจ

*      บันทึก  คำพูดที่สำคัญ

 

การฝึกปฏิบัติการ
การจัดทำเครื่องมือชุดธารปัญญามหาสารคามมุ่งสู่เมืองสะอาดที่สุดในประเทศไทย

 ปัจจัย  / องค์ประกอบของความสำเร็จความครอบคลุมของร้อยละหมู่บ้านในการจัดสวนหย่อมหรือลานกีฬาในหมู่บ้านร้อยละของหมู่บ้านที่มีการลดละเลิกอบายมุขความพึงพอใจของประชาชนต่อการดำเนินงานเพื่อให้จังหวัดมหาสารคามเป็นเมืองสะอาดร้อยละของประชาชนที่มีการปฏิบัติศาสนกิจเกณฑ์การให้คะแนนความครอบคลุมของร้อยละหมู่บ้าน ในการจัดสวนหย่อมหรือลานกีฬาในหมู่บ้าน*   อำเภอมีการการจัดสวนหย่อมหรือลานกีฬาในหมู่บ้าน ร้อยละ 40 ของจำนวนหมู่บ้านทั้งหมด   =  1  คะแนน*   อำเภอมีการการจัดสวนหย่อมหรือลานกีฬาในหมู่บ้าน ร้อยละ 50 ของจำนวนหมู่บ้านทั้งหมด   =  2  คะแนน*   อำเภอมีการการจัดสวนหย่อมหรือลานกีฬาในหมู่บ้าน ร้อยละ 60 ของจำนวนหมู่บ้านทั้งหมด   =  3  คะแนน*   อำเภอมีการการจัดสวนหย่อมหรือลานกีฬาในหมู่บ้าน ร้อยละ 70 ของจำนวนหมู่บ้านทั้งหมด   =  4  คะแนน*   อำเภอมีการการจัดสวนหย่อมหรือลานกีฬาในหมู่บ้าน ร้อยละ 80 ของจำนวนหมู่บ้านทั้งหมด   =  5  คะแนน 
หมายเลขบันทึก: 92840เขียนเมื่อ 27 เมษายน 2007 13:32 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 18:22 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท