Assistive technology PTOT366 ณ สถาบันสิรินทรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ ครั้งที่ 2


บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา PTOT 366
( อุปกรณ์ช่วย และเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับนักกิจกรรมบำบัด )
จัดทำโดย 6423018 นางสาวชัญญานุช ขุนนุ้ย นักศึกษากิจกรรมบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล ชั้นปีที่ 3


 

ณ สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ กรมการแพทย์ ครั้งที่ 2


 

ความรู้สึกที่ได้เรียนรู้ในวันนี้

ความรู้สึกแรกคือ ความตื่นเต้น เนื่องจากได้มีโอกาสไปนำเสนออุปกรณ์ช่วยและสิ่งอำนวยความสะดวก “can crusher” ในsituationใหม่ๆ กับทางคณะอาจารย์ ทั้งจากมหาวิทยามหิดลและทางสถาบันสิรินธร นอกจากนี้ยังรู้สึกดีมากที่ได้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ wheelchair เพิ่มเติม ทำให้เห็นภาพมากขึ้นในแง่มุมของโรงพยาบาล และได้มีการชมexhibitionที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งยังรู้สึกสนุกที่ได้ออกไปทดลองใช้wheelchairที่บังคับด้วยแขนข้างเดียวอีกด้วย


 

ความรู้ที่ได้รับในวันนี้

  • ข้อบ่งชี้การพิจารณาให้อุปกรณ์เครื่องช่วยที่เหมาะสมกับผู้รับบริการ
  • วิธีการใช้งาน wheelchair และอุปกรณ์ช่วยอื่นๆ
  • คำแนะนำเพิ่มเติมในการจัดทำอุปกรณ์ช่วยและสิ่งอำนวยความสะดวกที่นำเสนอ
  • ได้เห็นและเข้าใจprocess และวิธีการไข้งานอุปกรณ์ช่วยของเพื่อนกลุ่มอื่นๆ


 

ความรู้ที่จะได้จะนำไปพัฒนาต่อยอดทางกิจกรรมบำบัดอย่างไร

จะนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการให้บริการทางกิจกรรมบำบัด โดยจะพยายามพิจารณารายละเอียดให้มากขึ้น คำนึงถึงผู้รับบริการ ความต้องการ เหมาะสม และตรงกับข้อบ่งชี้เบื้องต้น ที่จะส่งให้อุปกรณ์ช่วยและเทคโนโลยีอำนวยความสะดวกนั้นส่งเสริมการดำเนินชีวิตของผู้รับบริการ ก่อให้เกิด participation และ well-being ได้จริง

หมายเลขบันทึก: 717541เขียนเมื่อ 9 มีนาคม 2024 22:51 น. ()แก้ไขเมื่อ 9 มีนาคม 2024 22:51 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท