ความเห็นไม่ถูกต้อง ความเห็นไม่ตรงต่อการมีชีวิตเป็นเช่นใด


เมื่อผู้ใดแต่เดิมมีความเห็นไม่ถูกต้อง

เช่น ไม่เชื่อเรื่องการตาย การเกิด เรื่องภูมิที่เสวยความทุกข์ คือ นรก เปรต อสุรกาย เดรัจฉาน เรื่องภูมิที่มีความสุข เช่น เทวดา พรหม มนุษย์ตายแล้ว อาจเกิดเป็นมนุษย์อีกก็ได้ ไปเกิดในภูมิอื่นก็ได้ ตามแต่บาปบุญที่กระทำไว้ ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ครั้นต่อมาเมื่อมีความเข้าใจถูกต้องเกิดขึ้น ได้สำนึกตัวเห็นว่าความคิดของตนไม่ถูก ควรอบรมศึกษาเล่าเรียนให้เป็นผู้มีความเห็นถูกต้องตามความเป็นจริง การรู้สึกตัวเช่นนี้เป็นทิฏฐิชุกัมมะคือ ความเห็นถูกตรงตามธรรมชาติที่แท้จริง ในปุพพเจตนา เจตนาเบื้องต้น

เมื่อตกลงใจได้แล้ว จึงเริ่มต้นศึกษาเล่าเรียนในข้อธรรมต่างๆ รวมทั้งการปฏิบัติตามหลักธรรม ทำให้ความรู้ ความเห็น ความเข้าใจ ค่อยถูกต้องดีขึ้นเป็นลำดับๆ มีความแจ้งชัดเจนในเรื่องการตาย การเกิด นรก สวรรค์ เป็นต้น เหล่านี้มีความจริงมากน้อยประการใด ความเห็นอันดีงามเหล่านี้เป็น ทิฏฐิชุกัมมะ ในขณะที่เป็นมุญจเจตนา คือความเห็นถูกตรงตามธรรมชาติที่แท้จริง มีเจตนาเบื้องต้นของการทำภายหลังเมื่อมีความเห็นชอบถูกต้องเป็นอย่างดีแล้ว ก็มาพิจารณาถึงความเป็นไปของตนว่า เมื่อก่อนเป็นผู้มีความคิดเห็นผิดต่างๆ มาบัดนี้ได้มากระทำความเห็นตรงตามความจริงได้แล้ว จึงรู้สึกพอใจ มีความชื่นชมยินดี การพิจารณาทราบความเป็นไปของตนเองดังนี้เป็น อปรเจตนาคือ เจตนาที่กระทำ หรือคิดในท่ามกลาง

ในปุญญกิริยา ๑๐ ประการที่ได้กล่าวมาแล้วทั้งหมด อันเป็นกรรมที่จะนำผู้ปฏิบัติไปเกิดในกามสุคติภูมิได้ หลังจากตายแล้วนั้น ความจริงแล้ว จะสงเคราะห์ย่อลงให้เหลือเพียง ๓ อย่างคือ ทาน ศีล ภาวนาปัตติทานคือ การให้ทาน และ ปัตตานุโมทนะ คือการยินดีกับสร้างบุญ อยู่ในทานกุศล อปจายนะ และเวยยาวัจจะ คือการช่วยเหลือกัน จัดอยู่ในศีล ส่วน ธัมมสวนะ คือการฟังธรรมะและ ธัมมเทสนา คือการพูด เผยแผ่ธรรมะ และทิฏฐิชุกัมมะ คือความเห็นถูกตามธรรมชาติที่รู้ จัดอยู่ในภาวนา

การที่จัดสงเคราะห์เข้าไว้ดังนี้ เพราะมีเหตุผลคือทานกุศล เป็นการทำกุศลด้วยการบริจาค ทำการเสียสละสิ่งที่มีค่าของตนออกให้ผู้อื่น ผู้จะปฏิบัติได้ย่อมเป็นบุคคลที่ไม่มีความอิจฉาริษยา ในทรัพย์สมบัติหรือคุณงามความดีของผู้อื่น เพราะถ้ามีความรู้สึกดังนี้ จะทำการบริจาคไม่ได้ จะเกิดความไม่พอใจในการที่ปฏิคาหกรับวัตถุสิ่งของไปจากตนนอกจากปราศจากความอิจฉาแล้ว ยังต้องปราศจากมัจฉริยะ เพราะถ้ายังมีอยู่ย่อมเกิดความไม่พอใจ ที่เห็นทรัพย์ของตนสิ้นเปลืองไปด้วยการทำทานรวมความแล้ว ทานกุศลจึงเป็นปฏิปักษ์กับอิสสาและมัจฉริยะ

ส่วนการเกิดขึ้นของปัตติทาน และปัตตานุโมทนะ ทั้ง ๒ อย่างนี้ มีลักษณะอย่างเดียวกับทานกุศล คือผู้ที่กระทำปัตติทานได้ ย่อมไม่มีอิสสาและมัจฉริยะ ถ้ามีอิสสาย่อมไม่พอใจที่ผู้อื่นได้รับกุศลโดยง่ายสะดวกสบายจากตน โดยไม่ต้องลำบากเหน็ดเหนื่อย ถ้ามีมัจฉริยะย่อมไม่พอใจ ไม่เต็มใจแบ่งส่วนกุศลให้ใคร ปัตติทานจึงเป็นปฏิปักษ์กับอิสสาและมัจฉริยะ เช่นเดียวกับทาน

สำหรับปัตตานุโมทนะ การอนุโมทนาในบุญกุศลที่ผู้อื่นแผ่ให้ ถ้าเป็นผู้มีใจอิจฉาริษยาแล้ว ย่อมไม่พอใจในการประกอบการกุศลของผู้อื่น เห็นเป็นการโอ้อวดเอาหน้า มีความรู้สึกที่เรียกกันว่า “หมั่นไส้” เกิดขึ้น ใจจึงไม่คิดจะน้อมรับเอาบุญกุศลที่เขาอุทิศให้ถ้ามีมัจฉริยะหวงแหนในทรัพย์สมบัติและคุณความดีของตน ก็ย่อมเกิดความรู้สึกขัดแย้งในการบริจาคทานของผู้อื่น เพราะตนเองทำดังนั้นไม่ได้ บางทีเกิดความเสียดาย คิดอยากให้ผู้นั้นมาบริจาคสิ่งเหล่านั้นให้ตนเอง ดีกว่าเอาไปให้ที่นั้นไปเสียอีกถ้าเป็นปัตตานุโมทนะที่เกี่ยวกับการรักษาศีล เจริญภาวนา ก็ทำใจให้น้อมรับได้ยาก เพราะตนเองไม่สามารถกระทำดังนั้นได้บ้าง จึงไม่เห็นคุณค่า เห็นเป็นความไม่จำเป็นบ้าง เห็นเป็นการโอ้อวดไปบ้าง ไม่ยอมรับด้วยจริงใจ

อปจายะนะ เวยยาวัจจะ ๒ อย่างนี้เป็นจาริตตาศีล คือความประพฤติที่ดีงาม ไม่ว่าของคฤหัสถ์ หรือบรรพชิต เป็นข้อควรปฏิบัติ จัดเข้าอยู่ในศีลมัยกุศลธัมมสวนะ ธัมมเทศนา ทิฏฐิชุกัมมะ ทั้ง ๓ นี้ เมื่อปฏิบัติแล้วทำให้กุศลธรรมในตนเจริญยิ่งๆ ขึ้น เช่นเดียวกับการเจริญภาวนา ซึ่งเป็นกิจที่ทำให้จิตใจเจริญในธรรมเหมือนกัน บางทีการแสดง การสอนธรรม ธัมมเทศนานั้นก็ถูกจัดไว้ในทานกุศลด้วย ดังที่กล่าวว่าการให้ธรรมย่อมชนะการให้ทั้งปวงทิฏฐิชุกัมมะ เป็นเครื่องหมายอันสมบูรณ์ของบุญญกิริยาวัตถุทั้งปวง อันที่จริงการทำความเห็นให้ตรงนี้ เป็นเสมือนการถือหางเสือเรือ จึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะเป็นสิ่งนำไปสู่จุดหมายปลายทาง การทำทาน รักษาศีล เจริญภาวนาที่มีทิฏฐิชุกัมมะ ย่อมส่งผลมหาศาลให้ได้สมตามประสงค์………………………

หมายเลขบันทึก: 717459เขียนเมื่อ 2 มีนาคม 2024 21:00 น. ()แก้ไขเมื่อ 2 มีนาคม 2024 21:00 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

แปลเป็นจีน當有人原本有不正確的意見時

例如不信生死,不信地獄、魔界、妖獸等苦界,不信天使、梵天、已死的人等樂界。 你可能會重生為人。 你可以出生在另一種風景。 根據你所造的功德,做好事就會有好報,做壞事就會有惡報。 後來有了正確的體會後, 他意識到自己的想法不正確。 應該訓練和教育他們成為根據真理持有正確觀點的人。 這種覺知就是diṭṭhijukamma。 正見是根據直接意圖、主要意圖的真實本質。

當你決定了 於是他開始研習、研究各種佛法。 遵循佛法原則可以使知識、觀點和理解逐漸變得更準確和更好。 關於死亡、出生、地獄、天堂等都有明確的訊息,這些事情有多少真實性? 這些善見是diṭṭhishukamma,同時它們是munca 意志。 這是根據真實本質的正見。 有一個基本的做事意圖之後,當有良好的一致性和正確性時。 然後他開始考慮自己的可能性。 以前他是個有各種錯誤觀點的人。 現在我已經根據事實形成了我的觀點。 所以我覺得很滿足。 麾 如下觀察並了解自己的本性是 aparanattana,意思是一個人行為的意圖。 或在中間思考

在上述所有 10 個 Punñakriyas 中。 這是引導修行者往生極樂世界的業力 事實上,死後的援助只能歸結為三件事:布施、持戒和禪修。Pattithan 的意思是布施,Pattanumodhana 的意思是對做功德感到高興。 在慈善事業中āpacāyṇa 和 weyāyavacca 法是互相幫助並以戒律組織起來,而法行是聽法,而法式是說法和傳播法和提提丘卡瑪。 這是符合自然的正確意見。 在冥想中組織起來

援助安排如下: 因為有一個理由慈善捐贈就是透過捐贈來創造價值。 犧牲你的貴重物品來給予他人。 能做到這一點的人,一定是個沒有嫉妒心、沒有嫉妒心的人。 他人的財富或善良 因為如果你有這種感覺 無法捐款。 贊助人從他那裡拿走物質上的東西將會引起不滿。除了沒有嫉妒之外 也必須沒有天才 因為如果它還存在的話,就會有不滿。 他們看到自己的財富因施捨而浪費總而言之,慈善與 Issā 和 Macchariya 相對立。

至於帕蒂森的出現 和Pattānumodhana,這兩者都具有與布施相同的特徵。 是能立功的人 不會有伊薩和天才。 如果有伊薩,他就不會滿足於別人輕易、方便地從他那裡得到功德。 不困難或累人 如果你有智慧,你就不會滿足。 不願意與任何人分享功德 所以 Pattitana 與 Issā 和 Macchariya 相對立。 以及施捨

對於帕塔努莫達納 欣賞他人傳播的功德 如果你是個有嫉妒心的人 他對別人的施捨感到不滿。 被視為炫耀。 有一種感覺,叫做“噁心”,心生起,不想接受自己所迴向的功德。若人有智慧命,嫉妒財德 當然,對於別人的捐贈,也會有矛盾的感受。 因為我自己做不到。 有時候也會有遺憾。 想像一下希望那個人來把這些東西捐給你自己。 這比把它帶到那裡更好。如果是持戒禪修的波陀無摩那,很難讓心接受。 因為他自己根本做不到這樣的事情。 所以我看不到價值。 我認為這是不必要的。 我認為這在某種程度上是一種誇耀。 我並不真誠地接受。

這兩個 apacāyāna vēyāvaccā 是 cārittāsila。 是良好行為 無論是在家人或出家人,都是應該遵循的修行。 組織成功德戒正法、說法、提提丘業,這三者修行時,可以使自己內在的功德法增長得更多,就像修行禪修一樣。 這也是一種讓心在佛法中發展的活動,有時表演、佛法的教授和佛法的說法也包括在功德供養中。 正如所說,布施法勝過一切布施。Diṭṭhishukamma 是所有美德的完美表徵。 其實在這裡提個意見 這就像掌舵一艘船。 因此,這是極為重要的。 因為它導致目的是布施、持戒、觀禪。 這將對實現預期結果產生巨大影響。

แปลเป็นญี่ปุ่น

誰かがもともと間違った意見を持っていたとき

例えば、死と誕生を信じないこと、地獄、鬼、怪物、獣などの苦しみの世界、天使、梵天、死んだ人間などの幸福の世界を信じないこと。 あなたは人間として生まれ変わるかもしれません。 あなたは別の風景に生まれることができます。 行った功績に応じて、善いことをすれば善くなり、悪いことをすれば悪くなる。 その後、正しい理解が得られたとき、 彼は自分の考えが正しくないことに気づきました。 彼らは真実に基づいて正しい意見を持つ人になるように訓練され、教育されるべきです。 この種の認識はディシュティジュカンマです。 目先の意図、本意の本質に応じた正しい意見。

決めたとき それで彼はさまざまなダンマを研究し始めました。 ダンマの原則に従うことを含めると、知識、意見、理解が徐々に正確になり、より良くなります。 死、誕生、地獄、天国などに関する明確な情報があります。これらのことにはどの程度の真実があるのでしょうか? これらの良い景色は、ムンカの意志である一方で、ディシュティシュカンマです。 本質に沿った正しい意見です。 という基本的な意図がありますその後、良好な一致と正しさが得られた場合。 そして彼は自分自身の可能性を考えるようになった。 昔は色々間違った意見を持っていた人でした。 今、私は真実に従って自分の意見を形成するようになりました。 それで満足感を感じています。 喜ぶ 次のように自分自身の性質を熟考し知ることはアパラナッタナであり、自分の行動の意図を意味します。 あるいは中途半端に考えている

上記の 10 のプンニャクリヤすべてにおいて。 それは実践者を至福の官能の世界に生まれ変わらせるカルマです。 実際には、死後、援助は慈善、道徳、瞑想の 3 つだけに絞られます。パティタンは施しをすることを意味し、パッタヌモダナは功績をあげて喜ぶことを意味します。 慈善活動でアーパーカヤナとウェイヤヴァッカ ダンマサナは戒律に基づいて互いに助け合い、ダンマサナはダンマに耳を傾け、ダンマテサナはダンマとティティチュカンマを話し、広めます。 それは性質上正しい意見です。 瞑想で組織化される

援助は次のように手配されます。 理由があるから慈善活動とは、寄付を通じて利益を得るということです。 自分の貴重品を犠牲にして他人に与えましょう。 これができる人は、きっと妬みや嫉妬のない人でしょう。 他人の富や善良さにおいて だってこの気持ちがあるなら 寄付はできません。 常連客が彼から物質的なものを取り上げることに不満が生じるでしょう。妬みから解放されるだけでなく、 天才性も持たなくてはいけない それがまだ存在すると不満が残るからです。 施しをすることで自分の富が無駄になるのを見た人全体として、慈善活動はイッサとマッチャリヤに対立します。

パティサンの登場に関しては とパッターヌモダナ、これらはどちらも慈善活動として同じ特徴を持っています。 功績を上げることができる人です 一茶も天才もいないでしょう。 もしイッサがいるなら、彼は他人が自分から簡単に都合よく功徳を受けていることに不満を抱くでしょう。 難しくも疲れることもなく 知性があれば満足することはないでしょう。 誰ともメリットを共有したくない つまり、パティタナはイッサとマッチャリヤに反対しているのです。 施しも同様に

パッタヌモダナの場合 他人が広めたメリットに感謝する あなたが嫉妬深い心を持っている人なら 彼は他人の慈善行為に不満を持っています。 見せびらかしているように見られます。 「気持ち悪い」という感情が生じ、自分が捧げた功徳を心は受け入れようとは思わない。もしあなたが知的な生活をしていて、自分の富や美徳に嫉妬しているなら 当然のことながら、他人の寄付については相反する感情が生じるでしょう。 自分ではできなかったから。 後悔することもあります。 その人に来て、それらのものを自分に寄付してほしいと考えてください。 そこに持っていくよりはいいですよ。戒律を守って瞑想するパッタヌダーナだと、心に受け入れさせるのは難しい。 なぜなら、彼自身がそのようなことをすることができなかったからだ。 だから価値が分かりません。 それは不必要だと思います。 ある意味自慢だと思っていました。 素直に受け入れられないよ。

これら 2 つの apācāyāna vēyāvaccā は cārittasīla です。 良い行動です 在家であろうと僧侶であろうと、従うべき習慣です。 功績戒律として整理ダンマサヴァナ、ダンマ説教、ディティチュカンマ、これら 3 つを実践すると、瞑想を実践するのと同じように、自分自身の中にある功績のあるダンマがさらに成長します。 これは、ダンマの中で心を発達させる活動でもあり、場合によっては、パフォーマンス、ダンマの教え、法話が功徳をもたらす供養に含まれることもあります。 ダンマを与えることはすべての与えることよりも勝つと言われているように。Diṭṭhishukamma はすべての美徳の完璧な兆候です。 実際、ここで意見を言うと、 船の舵を握るようなものです。 したがって、それは非常に重要です。 それが繋がるものだから目的地は施しをし、戒律を守り、景色を眺めながら瞑想を実践することです。 それは望ましい結果を達成するのに大きな影響を与えます。

แปลเป็นEN

in the present era Human beings have more desires, including greed, anger, and delusion. Living in society from a small society is in the family. and the society that expands In the workplace society of the nation And the society of the world is between country to country. humble behavior It is considered a measure or strategy. to maintain benefits Maintain peace and tranquility. Insolence and stubbornness in the family lead to quarrels and disagreements. The arrogance of the leaders of some countries has led to international wars. Many people died

Giving this merit The doer can dedicate it to both the deceased and the deceased. and those who are still alive What is called merit is abstract. Not an object Giving that object When you give anything away, those objects disappear. But by dedicating merit, once you dedicate it, you will receive even more merit. It’s like lighting a lamp. When we light it up and allow others to light their lanterns after us. The more people, the more The amount of light becomes greater. Letting others light the fire after us It’s like we’re willing to share some of the merit we’ve done with others. The important thing is that it is “divided”, that is, it is not given in its entirety. It’s like lighting a fire. Not giving him our lamp.

Giving thanks for receiving the merit that he has dedicatedIt is merit that comes from seeing well, following along, being delighted and satisfied with the merit that he has dedicated.The word patti in verse 6 refers to the merit that oneself tries to create. and share it with othersAs for the word patti in this verse It means taking the merit that others have done and dividing it among you.“Papiyatiti = Patti, merit that others should dedicate to. Hence the name Patti. When anyone gives merit to you.”will be by uttering words Notification in writing or any way When the recipient acknowledges and utters the word “Amen”, it means the action is good. Intentionally pleased with that This intention is calledPattanumodana is merit arising.Congratulations that bring great merit That is, it must be an intention that is done with joy. contains wisdom If you say Amen according to etiquette The mind feels indifferent, lacks wisdom, and merit is incomplete.

For when we see someone doing various good deeds For example, seeing him doing merit, donating alms, keeping the precepts, practicing meditation, or seeing an inscription with the owner’s name. Creator of things that are of public benefit There was also joy and happiness. while that person did not dedicate the merit As such, it is not directly considered Pattanumodhana. It is considered only an allowance. Delight in the good deeds of others. Even if you say Amen or not. It is considered something that should be done. It is an expression of compassion. Get rid of jealousy. Even if the merit through Pattanumodana is not complete But it will benefit the mind in other ways.As for the merit shared by others, there are two kinds.Uttisikpatti The merit that he specifically spreadsAnuttisikpatti As for the merit that he spreads without specifying

Uttisikapatti Those who receive this kind of merit When you say “Amen” you will receive immediate results. For example, dedicating specific merit to relatives who are ghosts.It is a type of ghost whose existence is due to the merit that others have dedicated to it, namely Pratattupajivikapreta.

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท