รายงานการสร้างกิจกรรมกำดำเนินชีวิตของกรณีศึกษา Delay Development


Occupational Formulation 

*เน้นจากตามข้อมูลที่ได้มายังไม่มีรายละเอียดตามหัวข้อทั้งหมด จึงต้องการประเมินเพิ่มเติมดังต่อไปนี้*

  1. Occupation Influences (Identity)

1.1 Volitional Anticipation : เนื่องจากในผู้รับบริการเด็กนั้นไม่มีVolition ที่แน่ชัด จึงอิงจากพัฒนาการเป็นหลัก ซึ่งก็คือการเล่นและการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ดูแล

1.2 Role Identity : สัมภาษณ์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของผู้รับบริการกับผู้ดูแล และบทบาทของผู้รับบริการ

1.3 Preference & Choices : สังเกตและสัมภาษณ์ผู้ดูแลเกี่ยวกับกิจกรรมที่ผู้รับบริการชอบทำ และของเล่นที่ผู้รับบริการชอบเล่น

1.4 Personal Causation : ผู้ดูแลสังเกตถึงความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับผู้รับบริการ จึงได้พาเข้ามารับการรักษากับนักกิจกรรมบำบัด

1.5 Meaningful Interest : สังเกตการเล่นของผู้รับบริการและสัมภาษณ์ความต้องการของผู้ดูแลและเชื่อมโยงถึงพัฒนาการของเด็กตามช่วงวัย


 

2.Occupational Presentation (Competence)

2.1 Objective Viewpoint to Lifestyle Habits

ประเมินเพิ่มเติมเพื่อทราบว่าผู้รับบริการมีพัฒนาการล่าช้าในด้านใด และส่งผลต่อ area of occupation  ด้านใดบ้างและส่งผลต่อlifestyle habits ของตัวผู้รับบริการและผู้ดูแลอย่างไร

2.2 Activities Needed, Wanted, or Expected

สัมภาษณ์ความต้องการและความคาดหวังของผู้ดูแลที่มีต่อผู้รับบริการ และต้องการให้OTมีส่วนช่วยในด้านใด

2.3 Environmental Impact on Skills & Performance

สังเกตและสัมภาษณ์ความสัมพันธ์ของผู้ดูแลกับผู้รับบริการ รวมถึงวิธีการเลี้ยงดูและบริบทในครอบครัว 

 

3. Occupational Focus (Adaptation)

3.1 SMART goal setting 

  • Specific Components : Communication Development หันตามเสียงเรียกชื่อของตนเอง
  • Measuring Process : ผู้รับบริการมีความสนใจในการเล่นกับผู้ดูแลและตอบสนองต่อเสียงของผู้ดูแล ไม่ว่าจะเป็นการหันหาหรือเลียนเสียงตอบตาม
  • Aspiration Goal : ส่งเสริมพัฒนาการด้านการสื่อสารของผู้รับบริการ
  • Relevant to the Key Issues : ใช้การเล่นเป็นสื่อในการช่วยส่งเสริมให้ผู้รับบริการพูดโดยให้ผู้ดูแลคอยกระตุ้น
  • Timed in Occupational goal :  ใช้เวลาการฝึกเป็นเวลา 3 สัปดาห์

3.2 TICKS

ผู้รับบริการสามารถตอบรับเสียงเรียกชื่อของตนเองได้เมื่อมีคนเรียกโดยการหันหาต้นกำเนิดเสียงที่เรียกชื่อให้ผู้รับบริการหันหาคนที่เรียกชื่อตนเองโดยให้ผู้ดูแลเรียกชื่อพร้อมนำของเล่นที่เด็กสนใจมาทำให้เกิดเสียง  และระหว่างการทำกิจกรรมใดๆร่วมกันระหว่างผู้ดูแลและผู้รับบริการแนะนำให้ผู้ดูแลเรียกชื่อของผู้รับบริการระหว่างท่าทางต่างๆในกิจกรรม เช่น น้องAกำลังยกมือ ,น้องAเอาลูกบอลให้แม่ ,น้องAมีความสุข เป็นต้น ใช้เวลาการฝึกเป็นเวลา 3 สัปดาห์ โดยวิธีการ occupation engagement และครอบครัวเป็นส่วนช่วยสำคัญในการส่งเสริมพัฒนาการของผู้รับบริการ


สมาชิก

1. นางสาวมุทิตา โพธิรัตน์ 6223013

2. นางสาวปิยอร ศรีนามวงศ์ 6223026

3.นางสาวสู่ขวัญ ธรรมโม 6223033

หมายเลขบันทึก: 695764เขียนเมื่อ 10 มกราคม 2022 16:05 น. ()แก้ไขเมื่อ 10 มกราคม 2022 16:05 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท