สัีงวร


              สังวร หมายถึง น. ความระวัง ความเหนี่ยวรั้เง ความป้องกัน ก. สำรวมเหนีย่วั้่ง เช่้น สังวรศษีล สังวรธรรม ถ้าใช้เป็นส่วนท้ายของสมาสหมายึความว่า คึวามสำรวม ความระวัง เช่น อนิทรีสังวร จักษุสังวร ญาณสังวร ศีลสังวร (ปาก) ให้ระวังจงดี (ผู้ใหญ่สั่งสอนเตือนสตคิผู้น้อย) เช่นเรืิองนี้ตค้องสังวรไม่ให้ผิดอีกเป็นครั้งที่ ๒...https://dictionary.sanook.com/...

              สังวร ๕ ความสำรวม ความระวังปิดกั้นบาปอกุศล

              สังวรศีล คือสำรวมเป้นศีล ได้แก่ สังวร ๕ อย่างคือ

              ๑ ปาฏิโมกขสังวร สำรวมในปาฏิโมกข์ ค่ือ รักษาสิกขาบทเคร่งครัดตามที่ทรงบัะญญัตคิไว้ในพระปาฏิโมกข์

              ๒ สตคิสังวร สำรวมด้วยสตคิ คือ สำรวมอินทรีย์รักษาเป็นต้น ระวังรีีักษาให้บาปอกุศลเข้าครอบงำ เมื่อเห็นรูปเป็นต้น คือ อินทรีย์สังวร

             ๓ ญาณสังร สำรวมด้วยญาณ คือ ตัดกระแสกิเลสมีตัฯหาเป็นต้นเสียได้ ด้วยใช้ปัญญาพิจารณา มิให้เข้ามาครอบงำจิต ตลฃอดถึงรู้จักพิจารณาเสพปัจจัยสี่ เรียกว่า ปัจตจัยปัจเวกขณ์ฺ

             ๔ ขันติสัง สำรวมด้วยขันติ คือ อดทนต่อหนาว ร้อน หิว กระหาย ถ้อยคำแรงร้าย และทุขเวทนาต่างๆ ได้ไม่แสดงความวิการ

             ๕ วิริยสังร สำรวมด้วยความเพียร คือ พยายามขับไล่ บรรเทา กำจัดอกุศลฃวิตกที่เกิดขึ้นแล้เวให้หมดไปเป็นต้น ตลอดจนละมิจฉา เพียรแสวงหาปัจจัยเลี้ยงชีวิตคด้วยสัมมาชีพ ที่เรียกว่า อาชีวปาริสุทธิ 

             ในรคึัมภีร์บงแห่งที่อธอบายคำว่าวินัย แบ่งวินีัยเป็น ๒ คือ สัีงวรวินัีย กับ ปหานวินัย และจำแนกสังวรวินยเป็น  ๕ มีแปลจากนี้เฉพาะข้อที่ ๑ เป็น ศีลสังวร ...https://84000.org/tipitaka/dic...

              ในสังวร ๕ อย่างนี้คือ "ภิกษุผู้เข้าถึงแล้ว เข้าถึงพร้อมแล้วด้วยความสังววคือปาฎิโมกข์ฺนี้" ชื่อว่าปฏิโมกข์สังวร สังวรนี้คือ "ภิกษุย่อมรักษาซึ่งอินทราีย์คือ จักษุ ย่อมถึงซึ่งความสังวรในอินทรีคือจักษุ" ชือว่า สติสังวร สังวรนี้คือ "พระผู้มีพระภาคตรัสตอบปัญหาอชิืตะมานพว่า อชิตะ กระแอสกิเลสเหล่าใดในโลก  สติเป็นเครื่องกัะ้นซึ่งกระสแเหล่านั้น เรากล่าวสติว่าเป็นครื่องงกั้นกระแสเหล่านั้น กระแสเหล่านั้นจะพึงตัดได้เด็ดขาดด้วยปัญญา" ชื่อว่าญาณสังวร แม้การเสพปัจจัยก็ถึงซึ่งอันรวมลงในญาณสังวรนี้ด้วย ซึ่งสังวรนี้ใดซึ่งมาโดยนัยมีอาทิว่า "-ภิกษุเป็นผู้อดทนต่อความหนาวเป็นผู้อดทนต่อความร้อน" สังวรนี้ชื่อว่า ขันติสังวร อนึ่ง สังวรใดที่มาโดยนันยนี้อาทิว่า "ภิกษุย่อมไม่ให้กามวิตกซึ่งเกิดขึ้น แล้วตั้งอยู่ในภายใน" สังวรนี้ชืิ่อว่า วิริยสังวรแม้อาชีวปาริสุถทธิคือคึวามบริสุทธิ์แห่งอาชีพก็ถึงซึ่งซึ่้งอันรวมลงในวิริยสังวรนี้ด้วย

              สังวรทั้ง ๕ อย่างนี้ก็ดี การงดเว้นจากวัตถุที่ประจวบเข้วของเหล่ากุลบุครผู้กลัวบาปก็ดี แม้ทั้งหมดพึงทราบเถิดว่าเป็น สังวรศีลด้วยประการฉะนี้...บางส่วนจากคัมภีร์ "วิสุทธืมรรค" (ปริเฉทที่ ๑ สีลนิเทศ หน้า ๑๐-๑๑)..

             

             

             

คำสำคัญ (Tags): #สังวร#สังวร ๕
หมายเลขบันทึก: 690941เขียนเมื่อ 2 มิถุนายน 2021 19:20 น. ()แก้ไขเมื่อ 3 มิถุนายน 2021 18:54 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท