กิจกรรมบำบัดจิตสังคม


 MOHO คือ Model of human occupation หรือ แบบจำลองการดำเนินชีวิตของมนุษย์ สิ่งที่เราจะต้องเพิ่มความเข้มแข็งให้แก่ผู้รับบริการคือการเพิ่ม volition, habituation และ performance capacity เมื่อเราเพิ่มความเข้มแข็งให้แก่ผู้รับบริการแล้ว จะเกิดการฝึกทักษะ (skill) พัฒนาเป็นความสามารถ (performance) และเมื่อมีความสามารถผู้รับบริการก็จะอยากไป participate และทำให้เกิดความคิดที่ว่าเราก็สามารถทำอะไรบางอย่างได้ ชอบทำและทำได้ดี เกิดเป็น occupational identity และเมื่อทำบ่อยๆ แล้วหากเกิดปัญหากับกิจกรรมที่ทำ ก็จะสามารถแก้ปัญหาได้เป็น occupational competence และสุดท้ายเกิด occupational adaptation เกิดการปรับตัวเพื่อที่จะทำกิจกรรมนั้นได้ เช่นเดียวกับ PEOP ผู้บำบัดจะต้องวิเคราะห์ถึงองค์ประกอบแต่ละองค์ประกอบของผู้รับบริการ คือ person, environment , occupation และ performance การบำบัดผู้รับบริการ ผู้บำบัดจะต้อง occupy จิตของผู้บำบัดให้จดจ่อกับจิตของผู้รับบริการ ทำให้ผู้รับบริการออกจาก comfort zone โดยการเปลี่ยนท่าทาง สบายกาย สบายใจ แต่ยังอยู่ใน sefe zone คำนึงถึงความปลอดภัยเสมอ และพัฒนาสู่ challenge zone เพื่อให้เกิด occupational adaptation และเกิดการเรียนรู้

หมายเลขบันทึก: 685357เขียนเมื่อ 27 ตุลาคม 2020 20:46 น. ()แก้ไขเมื่อ 27 ตุลาคม 2020 20:46 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท