การทดสอบคุณภาพ ของระบบบริการที่พัฒนาขึ้นมาใหม่


การทดสอบคุณภาพ

ของระบบบริการที่พัฒนาขึ้นมาใหม่

Research Gap:

ผู้ป่วยเข้าไม่ถึงระบบบริการแบบเก่า เกิดความซ้ำซ้อนจากบริการที่ได้รับในระบบ เกิดความ delay จากระบบบริการ ต้นทุนสูง เป็นต้น

Design:

ออกแบบและพัฒนาระบบบริการใหม่ แล้วใช้เครื่องมือวิจัยมาทดสอบระบบที่พัฒนา โดยอาจเลือกใช้ Research Design เช่น Quasi-Experimenental Resrarch , Action Research หรือ Research & Development เป็นต้น

Outcome:

ประเด็นที่เราอยากวัดผลเชิงวิจัย (ตัวแปร) เช่น คุณภาพของระบบบริการ ซึ่งเราต้องไปนิยามว่า คุณภาพดัวกล่าวควรประกอบไปด้วยอะไรบ้าง เป็นต้นว่า เข้าถึงบริการทั้งการประเมิน คัดกรอง ตรวจวินิจฉัยและรักษได้รับตามสอดคล้องกับการเจ็บป่วย ไม่มีภาวะแทรกซ้อนหรือความเสี่ยงเกิดขึ้นระหว่างรอตรวจ เป็นต้น

#R2RDialogue

20200721094319.MOV


คำสำคัญ (Tags): #r2r
หมายเลขบันทึก: 679180เขียนเมื่อ 21 กรกฎาคม 2020 09:43 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 กรกฎาคม 2020 10:07 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

Read well but vague.

Have service users been asked what do they want/expect when they come for the service? Have service providers been included in the reform processes?

Quality can mean ‘standard’ that is meeting certain ‘fair and just’ contracts (even when both users and providers are not fully aware of the contracts). A warranty in health services seems inevitable. For public health, who will wear this cost and how the taxpayers will react…

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท