คำตอบแบบชาวบ้านเกี่ยวกับฝุ่นมลพิษ ในทัศนะของข้าพเจ้า


.
    ความเข้าใจของผม พูดแบบชาวบ้าน ประเทศไทยเป็นเมืองร้อน เวลากลางวัน แดดส่องพื้น พื้นร้อน (บรรยากาศพื้นผิวในเมือง อากาศร้อน) ทำให้เกิดพลังงานไอร้อน (ทฤษฎี  Ion energy) ไออากาศร้อนทำให้ ฝุ่นขนาดเล็กๆ  ทั้งหลายถูกดันขึ้นไปในระดับบนๆ แต่อากาศเย็นด้านบนที่เป็นชั้นอาอาศเย็น กดลงมาทำให้ฝุ่นลอยอยู่ ระหว่างพื้น(ไออากาศร้อน) กับท้องฟ้า(ความกดอากาศจากความเย็น) เหมือนแซนวิช ฝุ่นอยู่ตรงกลาง เช้าๆ จะเห็นฝุ่นลอยลงมามากกว่ากลางวัน เพราะอากาศเย็นลงไอความร้อนน้อย ซึ่งมีไอร้อนดันให้ฝุ่นลอยขึ้น แต่การที่เรายังคงเติมฝุ่น เข้าไปมากขึ้น ไส้แซนวิช (ชั้นฝุ่น) ก็หนาขึ้นไปด้วย ใช้หรือไม่ครับ  ?
        ทางเลือกที่รอคือความกดอากาศเย็นด้านบนที่กำลังกดลงมานั้นเกิดช่องโหวอ หรือเกิดการหมุนเวียน ฝุ่นที่ลอยอยู่ตรงกลางก็จะทะลักขึ้นไป กระจายออกไปกล่าวคือ ฝุ่นจะได้มีพื้นที่ให้กระจายตัวมากขึ้น ก็จะไม่เกิดเป็นความหนาแน่นจนทำให้เราตรวจวัดค่าฝุ่นเกิดพิกัด  แต่ฝุ่นก็ไม่ได้หายไปไหน แค่มีพื้นที่อยู่ อาศัยมากขึ้นก็จะไม่แอออัดว่างั้นเถาะ ใช้หรือไม่ครับ ?

        อากาศบ้านเรามีอากาศค่อนข้างร้อน......ขอถามครับ น้ำที่เป็นฝอยละเอียดจะกลายเป็นไอน้ำหมดหรือเปล่าครับ ? ....บริบทของสิ่งแวคล้อมในแต่ละประเทศต่างกันไม๋ครับจะใช้เช่นเดียวกันได้หรือไม่ครับ ?

       ส่วนตัวคิดว่าเวลาฝุ่นโดนละอองน้ำแล้วฝุ่นจะไปที่ไหนครับ....จับตัวตกลงพื้น....กว่าจะตกลงพื้นละอองน้ำก็กลายเป็นไอน้ำ ฝุ่นกลับมาแห้งอีก ฝุ่นที่ลอยอยู่สูง ตกลงมาลอยอยู่ในระดับต่ำ ระดับที่คนเดินถนนจะดีหรอเปล่า ? จะช่วยอะไรได้หรือไม่ ผมก็ไม่ทราบ ? แล้วถ้าคิดว่าดีกว่าไม่ทำอะไร จะกลายเป็น "ตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ" หรือไม่ครับ

มาดูกันว่าประเทศนอกทำอย่างไรครับ....


คำสำคัญ (Tags): #ฝุ่นมลพิษ#2.5 P.M.
หมายเลขบันทึก: 659629เขียนเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2019 00:30 น. ()แก้ไขเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2019 00:30 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท