บันทึกคุณครูปฐมวัย


วิจัยในชั้นเรียนสำหรับเด็กเล็ก ต่ำกว่า 3 ปี

 

 


วิจัยในชั้นเรียน

 

เรื่อง

 

การพัฒนาเด็กสมาธิสั้นด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์

ชั้นเตรียมอนุบาล ห้อง 1/1   

ภาคเรียนที่ 1   ปีการศึกษา 2560

 

 

ผู้วิจัย

นางธัญญา  ชาที

ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก

 

 

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลเกาะสีชัง

สังกัดกองการศึกษา เทศบาลตำบลเกาะสีชัง

อำเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี

 

 

 

 

 


วิจัยในชั้นเรียน

 

เรื่อง

 

การพัฒนาเด็กสมาธิสั้นด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์

ชั้นเตรียมอนุบาล ห้อง 1/1   

ภาคเรียนที่ 1   ปีการศึกษา 2560

 

 

ผู้วิจัย

นางธัญญา  ชาที

ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก

 

 

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลเกาะสีชัง

สังกัดกองการศึกษา เทศบาลตำบลเกาะสีชัง

อำเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี

 

ประกาศคุณูปการ

 

               งานวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดีต้องขอขอบคุณครูเสาวนิจ  จันพางาม  ที่ได้ให้คำแนะนำในการทำวิจัยในครั้งนี้  ผู้วิจัยรู้สึกซาบซึ้งในความกรุณาและขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ ที่นี้

   ขอขอบคุณครูประจำชั้นเตรียมอนุบาลห้อง 1/1   ที่มีส่วนช่วยให้การวิจัยฉบับนี้ สมบูรณ์

ด้วยดีได้พัฒนาการเรียนการสอนอย่างสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี

 

 

 

                                                                                                           นางธัญญา  ชาที

                                                                                                                ผู้วิจัย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ชื่องานวิจัย              การพัฒนานักเรียนสมาธิสั้น ด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์

 

ชื่อผู้วิจัย                  นางธัญญา  ชาที

 

 

 

 

…………………………………

( นางธัญญา  ชาที )

ผู้วิจัย

ครูประจำชั้น

 

 

 


 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน

 

ชื่อ            ครูธัญญา  ชาที

ชื่อเรื่อง    การพัฒนานักเรียนสมาธิสั้นด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์

สภาพปัญหา      นักเรียนในชั้นเรียนระดับก่อนประถมวัย ระดับชั้นเตรียมอนุบาล 1/1

                        มีนักเรียน ทั้งหมด 19 คน  มีนักเรียนสมาธิสั้น 2 คน

1.             ด.ช.ณัฐภัทร          สนเขียว              

2.             ด.ช.ภัทรพล          สุขประเสริฐ     

ความเป็นมา      นักเรียนทั้ง 2 คน จะเป็นนักเรียนไม่ค่อยนิ่งในขณะปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ต้องให้นั่งใกล้ ๆ ครู เพื่อคอยกระตุ้นในการฟัง การพูด และการตอบคำถาม ลักษณะการพูด การตอบคำถามของนักเรียนจะพูดทวนคำถามก่อนจึงจะตอบ และไม่นิ่งในขณะร่วมกิจกรรมการระบายสีภาพต่างๆ จะขีดเขียน แค่สอง สาม ครั้งแล้วจะเลิก  ไม่ทำต่อ และ เปลี่ยนไปทำกิจกรรมอื่นอย่างไม่หยุดนิ่ง  ถึงแม้จะเป็นกิจกรรมที่หน้าสนใจ  เช่น ฟังนิทาน ฯลฯ  ครูประจำชั้นจึงมีความสนใจจะศึกษานักเรียนทั้ง 2 คน  เพื่อนำกิจกรรมสร้างสรรค์มาฝึกปฏิบัติ  เพื่อปรับพฤติกรรมในการพัฒนาความสามารถของนักเรียนทั้ง 2 คน ที่มีสมาธิสั้น ให้ปรับพฤติกรรมในขั้นพื้นฐานได้เหมาะสมกับวัย

ทางเลือกที่คาดว่าจะแก้ปัญหา

  1. การวาดภาพตามจินตนาการ
  2. ระบายสีภาพอิสระ
  3. โรยทรายสี
  4. ฉีกปะภาพ

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อพัฒนาความสามารถของ นักเรียนที่มีสมาธิสั้นในการปฏิบัติกิจกรรมโดยใช้กิจกรรมสร้างสรรค์
  2. เพื่อสร้าง และ พัฒนานวัตกรรมในการศึกษาสมาธิให้กับนักเรียนทั้งสอง

ระยะเวลาการดำเนินงาน     7 มิ.ย. 2560 – 1 ก.ย. 2560

ขั้นตอนในการดำเนินงาน

  1. ทดลองให้นักเรียนทำกิจกรรมสร้างสรรค์อย่างอิสระ
  2. สนทนาตกลงกติกาในการทำงานสร้างสรรค์
  3. ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมสร้างสรรค์อย่างสม่ำเสมอ
  4. สังเกตหลังจากปฏิบัติกิจกรรมโดยใช้ นวัตกรรม
  5. นำผลงานก่อนการทดลอง และหลังการทดลองมาปรับ นวัตกรรม
  6. สรุปผล และเสนอแนะ

 

 

ชื่องานวิจัย     การพัฒนานักเรียนสมาธิสั้นด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์

 

ชื่อผู้วิจัย         ครูธัญญา  ชาที

 

 

 

บทคัดย่อ

 

               การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาสมาธินักเรียนในระดับก่อนประถมศึกษา ซึ่งอยู่ในวัย 3 ปี  เป็นวัยแห่งการเรียนรู้จะสนใจเรียน  ประมาณ 10 – 20 นาที จากการจัดกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมในภาคเรียนที่ 1 พบว่าในห้องเรียนเตรียมอนุบาล 1/1  ที่มีสมาธิในการเรียนรู้ได้น้อยอยู่ 2 คน ผู้วิจัยจึงได้จัดกิจกรรมสร้างสรรค์ มาช่วยในการทำงานวิจัย โดยผ่านกระบวนการวาดภาพตามจินตนาการ ฉีก – ปะภาพ ระบายสีภาพ และโรยทรายสี เพื่อให้ผู้เรียนได้มีสมาธิในการเรียนเพิ่มมากขึ้น และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชั้นพื้นฐานได้เหมาะสมกับวัย     

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

การพัฒนาเด็กสมาธิสั้นด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์

 

ความสำคัญ และ ที่มา

               นักเรียนวัย 3 ปี ต้องมีการพัฒนาการทางด้านอารมณ์ – จิตใจสังคม และสติปัญญา จากการเลี้ยงดูที่ส่งเสริมถึงพัฒนาการตลอดจนการเรียนรู้ที่เหมาะสมจากการปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับพ่อแม่  เด็กกับครู  เด็กกับครูพี่เลี่ยง   เพื่อพัฒนาตนเองตามลำดับของคุณลักษณะอันพึงประสงค์อย่างสมดุลย์ และ เต็มศักยภาพ (จากหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย) เนื่องจาก   

ด.ช.ณัฐภัทร  สนเขียว  และ ด.ช.ภัทรพล  สุขประเสริฐ มีพัฒนาการที่ล่าช้าไม่เหมาะสมกับวัยในด้านสติปัญญา  อารมณ์ จิตใจ สังคม และร่างกาย ไม่เป็นไปตามศักยภาพของนักเรียน

               เนื่องจากการจัดกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม และการทดสอบประเมินผลพัฒนาการในภาคเรียนที่ 1    นักเรียนมีพัฒนาการไม่เหมาะสมกับวัย   ครูจึงสนใจที่จะทำวิจัยเพื่อพัฒนาการให้

ด.ช.ณัฐภัทร  สนเขียว  และ ด.ช.ภัทรพล  สุขประเสริฐ มีการพัฒนาที่ดีขึ้น โดยใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ซึ่งมี การวาดภาพตามจินตนาการ การระบายสีภาพ  การฉีกปะภาพ และโรยทรายสีเพื่อพัฒนาการให้นักเรียนมีศักยภาพที่ดีขึ้น

จุดประสงค์

  1. เพื่อพัฒนาความสามารถของ ด.ช.ณัฐภัทร  สนเขียว  และ ด.ช.ภัทรพล  สุขประเสริฐ ที่มีสมาธิสั้นให้มีการพัฒนาได้เหมาะสมกับวัย
  2. เพื่อพัฒนานวัตกรรมในการฝึกสมาธิให้กับนักเรียนที่มีสมาธิสั้นให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

ตัวแปรที่ศึกษา     ตัวแปรต้น

  1. กิจกรรมสร้างสรรค์ในด้านวาดภาพตามจินตนาการและระบายสีภาพ
  2. ฉีก - ปะและโรยทรายสี

                            ตัวแปรตาม     การพัฒนาสมาธิของผู้เรียน

กรอบแนวคิดในการวิจัย

วาดภาพจินตนาการระบายสี

กิจกรรมสร้างสรรค์                                                                                                 สมาธิของผู้เรียน

ฉีก – ปะและโรยทรายสี

 

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

               ผลจากการวิจัยครั้งนี้จะเป็นแนวทางสำหรับครูที่จะจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ในวัย 3 ปีให้ได้ผลตามจุดประสงค์ และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในห้องเรียน และนำผลมาใช้ในการปรับปรุง หรือพัฒนาการเรียน การสอนให้นักเรียนเกิดการพัฒนา และเกิดประสิทธิภาพสำหรับนักเรียนปฐมวัย

 

ขอบเขตของการวิจัย

 

                 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัย

               ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่เด็กชายณัฐภัทร  สนเขียว  อายุ 3 ปี และ เด็กชายภัทรพล  สุขประเสริฐ อายุ 3 ปี อยู่ในระดับชั้นเตรียมอนุบาล 1/1  ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560  ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลเกาะสีชัง

 

วิธีดำเนินการวิจัย

                  ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ เด็กชายณัฐภัทร  สนเขียว  อายุ 3 ปี และ เด็กชายภัทรพล  สุขประเสริฐ อายุ 3 ปี อยู่ในระดับชั้นเตรียมอนุบาล 1/1  ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560  ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลเกาะสีชัง ต.ท่าเทววงษ์ อ.เกาะสีชัง จ.ชลบุรี

               

โดยมีวิธีดำเนินงานด้วยการวิจัยดังนี้

 

ที่

วัน/เดือน/ปี

กิจกรรม

หมายเหตุ

1

 

 

 

 

2

 

 

 

 

3

7/มิ.ย./2560

14/มิ.ย./2560

21/มิ.ย./2560

28/มิ.ย./2560

 

5/ก.ค./2560

12/ก.ค./2560

19/ก.ค./2560

26/ก.ค./2560

 

2/ส.ค./2560

9/ส.ค./2560

16/ส.ค./2560

23/ส.ค./2560

วาดภาพตามจินตนาการ

ระบายสีภาพ

ฉีก – ปะภาพ

โรยทรายสี

 

วาดภาพตามจินตนาการ

ระบายสีภาพ

ฉีก – ปะภาพ

โรยทรายสี

 

วาดภาพตามจินตนาการ

ระบายสีภาพ

ฉีก – ปะภาพ

โรยทรายสี

 

ปฏิบัติตามกิจกรรมทุกวันพุธของสัปดาห์ วันที่ปฏิบัติกิจกรรมตรงกับวันหยุดจะเลื่อนปฏิบัติในวันอังคารของสัปดาห์

 

     

 

 

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

 

                ในการทำวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัย ได้ทำกิจกรรมดังนี้

  1. การจัดกิจกรรม
  2. การบันทึกข้อมูล

 

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

 

                 จากแบบบันทึกการพัฒนาสมาธิสั้นด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนภายหลังจากการทำกิจกรรม เพื่อส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนแล้ว ผู้เรียนมีระดับคะแนะสูงขึ้นตามลำดับ ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐาน   ขั้นตอนตามลำดับ   ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ทำให้                                    เด็กชายณัฐภัทร  สนเขียว  และ เด็กชายภัทรพล  สุขประเสริฐ มีพัฒนาการที่ดีขึ้น

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ภาคผนวก

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แบบบันทึกการพัฒนาการสมาธิสั้นด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์

ครั้งที่  1             เด็กชายภัทรพล  สุขประเสริฐ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลเกาะสีชัง

 

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

หมายเหตุ

2

1

0

1

วาดภาพตามจินตนาการ

 

/

 

0 หมายถึงไม่มีสมาธิเลย

1 หมายถึงมีสมาธิบ้างครูต้องคอยกระตุ้น

2 หมายถึงมีสมาธิดี

2

ระบายสีภาพ

 

/

 

3

ฉีก – ปะภาพ

 

/

 

4

โรยทรายสี

 

 

/

 

 

 

 

 

 

          รวม

-

3

1

 

          ค่าเฉลี่ย

-

0.75

0.25

 

          ค่าเฉลี่ยร้อยละ

-

75

25

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แบบบันทึกการพัฒนาการสมาธิสั้นด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์

ครั้งที่  2             เด็กชายภัทรพล  สุขประเสริฐ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลเกาะสีชัง

 

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

หมายเหตุ

2

1

0

1

วาดภาพตามจินตนาการ

 

/

 

0 หมายถึงไม่มีสมาธิเลย

1 หมายถึงมีสมาธิบ้างครูต้องคอยกระตุ้น

2 หมายถึงมีสมาธิดี

2

ระบายสีภาพ

 

/

 

3

ฉีก – ปะภาพ

 

/

 

4

โรยทรายสี

 

/

 

 

 

 

 

 

 

          รวม

-

4

-

 

          ค่าเฉลี่ย

-

1

-

 

          ค่าเฉลี่ยร้อยละ

-

100

-

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แบบบันทึกการพัฒนาการสมาธิสั้นด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์

ครั้งที่  3             เด็กชายภัทรพล  สุขประเสริฐ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลเกาะสีชัง

 

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

หมายเหตุ

2

1

0

1

วาดภาพตามจินตนาการ

/

 

 

0 หมายถึงไม่มีสมาธิเลย

1 หมายถึงมีสมาธิบ้างครูต้องคอยกระตุ้น

2 หมายถึงมีสมาธิดี

2

ระบายสีภาพ

/

 

 

3

ฉีก – ปะภาพ

 

/

 

4

โรยทรายสี

 

/

 

 

 

 

 

 

 

          รวม

2

2

-

 

          ค่าเฉลี่ย

0.50

0.50

-

 

          ค่าเฉลี่ยร้อยละ

50

50

-

 

 

สรุปผลว่า     จากการสังเกตการพัฒนาการสมาธิสั้นของผู้เรียนในแต่ละครั้งของ                                    

      เด็กชายภัทรพล สุขประเสริฐ  ในระดับชั้นอนุบาล 1/1  พบว่า    

ครั้งที่ 1     - ได้รับคะแนนในกิจกรรมสร้างสรรค์ได้ค่าเฉลี่ย 0.25 คิดเป็นค่าเฉลี่ย ร้อยละ 25

- ได้รับคะแนนในกิจกรรมวาดภาพตามจินตนาการกิจกรรมระบายสีและกิจกรรมสร้าง

   สรรค์ ได้ค่าเฉลี่ย 0.75 คิดเป็นค่าเฉลี่ย ร้อยละ 75

ครั้งที่ 2     - ได้รับคะแนนในกิจกรรมวาดภาพตามจินตนาการ  กิจกรรมระบายสีภาพ  กิจกรรมฉีก

                   ปะภาพ และกิจกรรมปั้นดินน้ำมัน ได้ค่าเฉลี่ย 4  คิดเป็น ร้อยละ 100

ครั้งที่ 3    - ได้รับคะแนนในกิจกรรมฉีก – ปะภาพ และกิจกรรมปั้นดินน้ำมัน ได้ค่าเฉลี่ย 0.50 คิด

                   เป็น ร้อยละ 50

- ได้รับคะแนนในกิจกรรมวาดภาพตามจินตนาการ และกิจกรรมระบายสีภาพ ได้

   ค่าเฉลี่ย 0.50 คิดเป็นร้อยละ 50

 

 

 

แบบบันทึกการพัฒนาการสมาธิสั้นด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์

ครั้งที่  1             เด็กชายณัฐภัทร  สนเขียว

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลเกาะสีชัง

 

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

หมายเหตุ

2

1

0

1

วาดภาพตามจินตนาการ

 

/

 

0 หมายถึงไม่มีสมาธิเลย

1 หมายถึงมีสมาธิบ้างครูต้องคอยกระตุ้น

2 หมายถึงมีสมาธิดี

2

ระบายสีภาพ

 

/

 

3

ฉีก – ปะภาพ

 

 

/

4

โรยทรายสี

 

 

/

 

 

 

 

 

 

          รวม

-

2

2

 

          ค่าเฉลี่ย

-

0.5

0.5

 

          ค่าเฉลี่ยร้อยละ

-

50

50

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แบบบันทึกการพัฒนาการสมาธิสั้นด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์

ครั้งที่  2             เด็กชายณัฐภัทร  สนเขียว

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลเกาะสีชัง

 

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

หมายเหตุ

2

1

0

1

วาดภาพตามจินตนาการ

 

/

 

0 หมายถึงไม่มีสมาธิเลย

1 หมายถึงมีสมาธิบ้างครูต้องคอยกระตุ้น

2 หมายถึงมีสมาธิดี

2

ระบายสีภาพ

 

/

 

3

ฉีก – ปะภาพ

 

/

 

4

โรยทรายสี

 

 

/

 

 

 

 

 

 

          รวม

-

3

1

 

          ค่าเฉลี่ย

-

0.75

0.25

 

          ค่าเฉลี่ยร้อยละ

-

75

25

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แบบบันทึกการพัฒนาการสมาธิสั้นด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์

ครั้งที่  3             เด็กชายณัฐภัทร  สนเขียว

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลเกาะสีชัง

 

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

หมายเหตุ

2

1

0

1

วาดภาพตามจินตนาการ

 

/

 

0 หมายถึงไม่มีสมาธิเลย

1 หมายถึงมีสมาธิบ้างครูต้องคอยกระตุ้น

2 หมายถึงมีสมาธิดี

2

ระบายสีภาพ

/

 

 

3

ฉีก – ปะภาพ

 

/

 

4

โรยทรายสี

 

 

/

 

 

 

 

 

 

          รวม

1

2

1

 

          ค่าเฉลี่ย

0.25

0.50

0.25

 

          ค่าเฉลี่ยร้อยละ

25

50

25

 

 

สรุปผลว่า     จากการสังเกตการพัฒนาการสมาธิสั้นของผู้เรียนในแต่ละครั้งของ      

                     เด็กชายณัฐภัทร  สนเขียว ในระดับชั้นอนุบาล 1/4  พบว่า    

ครั้งที่ 1     - ได้รับคะแนนในกิจกรรมฉีก – ปะภาพ  และ ปั้นดินน้ำมันได้ค่าเฉลี่ย 0.5  คิดเป็น

                    ค่าเฉลี่ย ร้อยละ 50

- ได้รับคะแนนในกิจกรรมวาดภาพตามจินตนาการ และ กิจกรรมระบายสี ได้

   ค่าเฉลี่ย 0.5 คิดเป็นค่าเฉลี่ย ร้อยละ 50

ครั้งที่ 2     - ได้รับคะแนนในกิจกรรมปั้นดินน้ำมัน ได้ค่าเฉลี่ย 0.25  คิดเป็นค่าเฉลี่ย ร้อยละ 25

ครั้งที่ 3    - ได้รับคะแนนในกิจกรรมปั้นดินน้ำมัน ได้ค่าเฉลี่ย 0.25 คิดเป็นค่าเฉลี่ย ร้อยละ 25

- ได้รับคะแนนในกิจกรรมวาดภาพตามจินตนาการ และกิจกรรมฉีก – ปะภาพ  ได้

   ค่าเฉลี่ย 0.50 คิดเป็นร้อยละ 50

- ได้รับคะแนนในกิจกรรม ระบายสี ได้รับค่าเฉลี่ย 0.25 คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ 25

 

 

Description: unnamed

 

 

 


หมายเลขบันทึก: 655516เขียนเมื่อ 13 ตุลาคม 2018 13:51 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 ตุลาคม 2018 13:51 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท