KM QA: วพบ.,วสส. เขตภาคเหนือ Day1


KM QA: วพบ.,วสส. เขตภาคเหนือ

การจัดการความรู้สู่แนวปฏิบัติที่ดี

วิทยาลัยเครือข่ายภาคเหนือ 

สังกัดสถาบันพระบรมราชนก

เมื่อ 2-3 เดือนก่อน .ดร.ปิ่นนเรศ ผอ.วิทยาลัยพยาบาลพระบรมราชชนนีจังหวัดแพร่ ได้จีบมาร่วมงาน KM QA วิทยาลัยเครือข่ายภาคเหนือ สังกัดสถาบันพระบรมราชนก ตกปากรับคำจึงได้มาร่วมงานกับคณาจารย์หลายๆ ท่านอีกครั้งในสองวันนี้ (14-15 สิงหาคม 2561)

จากหนึ่งปีที่ผ่านมาของการทำ KM QA ท่านอาจารย์ไพฑูรย์ ได้ชวนเครือข่ายทบทวนย้อนมอง ทำให้เห็นปรากฏการณ์ Capture ดังนี้คือ

เหลียวหน้าแลหลัง

  • นัดคุยกันเมื่อ 1 ปี
  • กำหนดเป้าหมายชัดเจน
  • การเขียน PDCA
  • เข้าใจเกณฑ์และวางแผนชัดเจน
  • กำหนดกิจกรรมให้ชัดเจน
  • มีการถอดบทเรียน โดยเฉพาะ “SAR”

GAP

  • ขาดการ monitor
  • การเขียนเห็นวงจรพัฒนา
  • ความรู้สึก QA เป็นภาระไม่ใช่แรงบันดาลใจ
  • QA ไม่อยู่ในใจ ถูกบังคับให้ทำ

BAR: ความคาดหวัง

  • เกิดเป็นวัฒนธรรมองค์กร
  • ทำให้เนียนในชีวิต
  • ทุกๆ 5 ปีมาประเมินเราจะสบายใจขึ้น

จากการนำเสนอผ่าน TEDtalk ได้เกิดการสะท้อนคิดและเรียนรู้ในตนเองหลายอย่างที่สำคัญคือ สำหรับกะปุ๋มเองเกิด Inspiration ค่อนข้างมากในการพัฒนาการเรียนการสอน โดยเฉพาะนำมาใช้ในกลุ่ม R2R คล้ายการเรียนรู้ก้าวกระโดดผ่านประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้อื่น

  • มีแรงบันดาลใจ เกิดการตั้งคำถาม ใคร่ครวญในวิถี ปรับกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้ฐานคิด TL มีการเชื่อมโยงทฤษฎีมาสู่การปฏิบัติ Action L.
  • นำ Policy มาสู่การปฏิบัติเห็น PDCA เพื่อัฒนาอัตลักษณ์ของการบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ ทำให้นึกถึงเรื่องการวิจัย มีคำถามการวิจัย
  • การตั้งคำถาม เพื่อให้เกิดความสอดคล้องระหว่างการเรียนการสอนและความจริงของการทำงาน มีเป้าหมายชัดเจนเพื่อมุ่งเป้าไปสู่การพัฒนา ***ปิ๊งแว้ป Train นศ.ทำวิจัยเล็กๆ  ***ใส่ skill research ให้นักศึกษา *** Challenge การสร้างแรงบันดาลใจแบบไม่ต้องบังคับหรือสั่ง ให้เด็กอยากเรียนรู้อยากสร้างงานวิจัยด้วยตนเอง ***นึกถึงวิจัยหน้าเดียว
  • การกำหนดเป้าหมายชัดเจน และสิ่งที่ท้าทายคือ การออกแบบ How to : กระบวนการคิด ฝึกการตั้งคำถามลงมือปฏิบัติเรียนรู้ มีการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ เป็นเจ้าของผู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง

*** Design การจัดการเรียนการสอน โดยการสร้างสถานการณ์จำลอ

  • พลังของครู เพราะครูเกิดการ Transformation 

เห็นการเดินเรื่องของการเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอน โดยใช้เด็กเป็นตัวเดินเรื่อง ปี 1,2,3,4 การออกแบบการเรียนเพื่อจะดึงความลึกซึ้งของกระบวนการคิดของเด็กออกมา เชื่อมโยงจากเนื้อหาการเรียนการสอน

การประเมิน : ทำ Content Analysis 

น่าทำวิจัย (วิจัยเปลี่ยนครู)

ประสบการณ์ตรงมีคุณค่า การเรียนรู้จะไม่สามารถเพิกเฉยได้เลยต่อความเป็นจริงของการเรียนรู้ : ทำให้นึกถึงวิชา Psycho drama การจัดการเรียนการสอนแบบ SBL สิ่งสำคัญคือ การทำ Reflection 

ครูเป็น Coach / Facilitator 

Capture เป็น ยกระดับความรู้ได้ของเด็ก ทำให้นึกเรื่อง scaffolding (นึกถึงวิจัย)

และจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มย่อย 5 กลุ่ม สรุปบทเรียนกับตนเองได้ตามการตั้งคำถามได้ว่า

  • ความสำเร็จของผลงาน Best Practice นี้คืออะไร

วางเป้าหมายการจัดการเรียนรู้ได้อย่างชัดเจน

 Learning outcome ชัดเจน

ความพร้อมของนักศึกษาและทีมอาจารย์

การเรียนรู้เสมือนจริง

Policy to Practice

 มีรูปแบบและการวางแผนชัดเจน เด็กควรจะได้อะไร

มองภาพรวมทั้งหลักสูตรก่อนวางแผนการเรียนการสอน

การมีส่วนร่วม

การตั้งคำถามและหาคำตอบ เป็น Learning by doing

จาก Teacher เปลี่ยนเป็น Facilitator

  • GAP ที่เหลือที่สามารถไปพัฒนาต่อได้อย่างไร

การวัดผลต่อเนื่องระยะยาว (R&D)

เปรียบเทียบกับสถาบันอื่น

การทำวิจัยเพื่อดูผลจากการเรียนรู้

อาจารย์ต้องกล้าก้าวผ่านการสอนในรูปแบบใหม่ 

เอา GPA มาวัดผล+ร่วมกับการวัดแบบอื่น 

  • สิ่งที่ได้เรียนรู้ใหม่จากผลงานนี้คืออะไร

การใช้รูปแบบการเรียนการสอนหลากหลาย

Student center

ก่อนจะเสริมทักษะได้ใคร่ครวญว่าจะเสริมอะไรได้บ้างในการจัดการเรียนการสอน

การพัฒนาอย่างเป็นระบบ

 ทุกคนมีองค์ความรู้ เพิ่มตัวเชื่อมกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ (คุณอำนวย)

การทำ Reflection 

ครูเปลี่ยน นักเรียนเปลี่ยน

ฝึกตั้งคำถามและค้นหาคำตอบด้วยตนเอง

เราจะได้เรียนรู้อะไรจากนักศึกษาได้บ้าง

เกิด Positive thinking

14-08-61

สไลด์ประกอบการเรียนรู้ https://www.facebook.com/100001139221669/posts/1778402862207671/

หมายเลขบันทึก: 649578เขียนเมื่อ 14 สิงหาคม 2018 17:47 น. ()แก้ไขเมื่อ 15 สิงหาคม 2018 17:40 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท