เห็นจิตในจิต


           สำหรับผู้ปฎิบัติได้ถึงดวงธรรมที่ทำให้เป็นกาย (ดวงธัมมานุปัสสนาสติปัฎฐานป หรือถึงกายใยในกายที่ละเอียดๆ ก็น้อมใจตามได้และสามารถจะเห็นได้ตามสมควร

           สำหรับผุ้ถึงธรรมกายแล้ว ให้รวมใจของทุกกายอยู่ ณ ศุนย์กลางธรรมกาย พระอรหัต พิสดารกายเจริญฌานสมาบัติพร้อมกันหมดทุกกาย สุดกายหยบกายบละเอียด ถึงธรรมกายอรหัตในอรหัต โดยอนุดลมและปฏิโลม เพื่อให้ใจบริสุทธิ์ผ่องใส จากกิเลสนิวรณ์ ควรแก่งานวิปัสสนาก่อน แล้วจึงรวมใจของทุกกาย หยุดอยู่ ณ ศุนย์กลางธรรมกายพระอรหัตองค์ที่ละเอียดที่สุด แล้วหยุดนิ่งลงไปที่ศุนย์กลางดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์ ตรงกลางกำเนิดธาตุธรรมเดิมนั้นจะเห็นดวงกลมใสวดงเล็กๆ ซ้อนกันอยู่เป็นขั้นๆ เข้าไปข้างใน ขนาดประมาณเท่าหยาดน้ำมันงาที่ใส ติดอยุ่ปลายขนจามรี ที่มัชฌิมบรุษสลัดเสียแล้ว ๗ ตร้ง ตั้งอยู่ในกลางกำเนิดธาตุรรมเดิมนั้นและ คือ ธาตุละเอียดรูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ ซ้อนกันอยู่เป็นชั้นๆ เข้าไปข้างในใสละเอียดยิ่งกว่ากันอตามลำดับ

           ดังที่หลางพ่อวัดปากน้ำ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ได้กล่าวไว้ว่า กายทั้ง ๕ นั้นมีขันธ์ ๖ เปป็นกำเนิดทุกาย ลักษณะขันธ์ ๕

          รูปขันธ์ มีลักษณะสัณฐานกลุ่ม ใสบริสุทธิ์ สะอาด ประมาณเท่าเม็ดไทรเม็ดโพธิ์ หรอหยาดน้ำมันงาที่ใส ติดอยุ่ที่ปลายชนจามรี ที่มัชฌิมบุรุษสลัดเสียแล้ว ๘ ที่ ตั้งอยู่นกำเนิดธาตุธรรมเดิม

          เวทนาขันธ์ มัีลักษณะสัฒฐานกลุ่มใสสะอาดกว่ารูปขันธ์ แต่เลก็กว่า ซ้อนอยุ้ชั้นใน ี่ ๒ ของรูปขันธ์

          สัญญาขันธ์ มีลักษณะสัณฐานกลมใสสะอาดกว่าเวทนาสาขันธ์ แต่เล็กกว่า ซ้อนอยู่ชั้นใน ที่  ๓ ของรูปขันธ์ซ้อนอยู่ชั้นใน ที่ ู๔ ของรูปขันธ์

           วิญญาณขันธ์ มัีลักษณะสัณฐานกลมใสสะอาดกว่า เล็กกว่่าสังขารขันธ์ ซ้อนอยู่ชั้นใน ที่ ๕ ของรูปขันธ์

           ขันธ์ ๕ ซ้อนกันอยู่เป็นชั้นๆ คือซ็อนกันเป็นวงเล็กๆ เข้าไป ไม่ใช้ซ้อนเป็นเถาเหมอนซ้อนถ้วยซ้อนขาม ซ้อนกันเป็นชั้นๆ ไปเหมือนฟองไข่ไก่ เช่นนี้เกมือนกันท้ง ๕ กาย แล้วขยายส่วนขึ้นไปตามกายใหญ่กายเล็ก

           ธาตุละเอียดของ รูปขัะ์ ขยายส่วนหยาบออกมาเป็นดวงกาย ประกอบด้วยธาตุละเอียดของ ดิน น้ำ ไฟ ลม (มหาภูตรูป ๔ ) กับ ธาตุละเอียด ของอากาศธาตุ และวิญญาณธารตุ ผนี้ส่วนนามธรรมซึ่งตั้งอยู่อ่ตร

กาลอากาศธาตุป รวมเป็น ธาตุ ๖ เจิรญเติบโตมาเป็นกาย และใจ จิต วิญญาณ

           ธาตุละเอีดของเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขนธ์ รวมเรียกว่า นามขันธ์ ๔ นี้เองที่ขยายส่วยหยาบออกมาเป็น ดวงเห็น ดวงจำ ดวงคิด ดวงรู้

           ดวงเห็นมีขนาดประมาณเท่ากับเบ้าตาของกาย (ธาตุเห็นอยุ่ท่ามกลางดวงนี้) มีหน้าที่รับอารมร์ หรือเสวยอารมณ์

           ดวงจำ มีขนาดเท่าดวงตาทั้งหมดของกย (ธาตุจำอยู่ท่ามกลางดวงนี้) มีหน้รทีรวบรวมและจดจำอารฒณ์

           ดวงคิด มีขนาดเท่าตาดำ (ธาตุคิดอยุ่ท่ามกลางดวงนี้ ) ลอยอยุ่ในเบาะน้ำเลี้ยงของหัวใจ ขนาดประมาณเท่า ๑ ซองมือของผู้เป็นเจ้าของมหน้าที่คิดหือ้อมไปสู่อารมณ์

          ดวงรู้ มีขนาดเท่าแววตาดำข้างน (ธาตุรุ้อยุ่ท่ามกลางดวงนี้) มีหน้าที่รุ้หรือรับรุ้อารมณ์

          เห็น จำ คิด รู้ อย่างนี้เองที่รวมเรียกว่า "ใจ" เมื่อรวมหยุดเป็นจุดเดียวกันเช่นนี้ได้ เรียกว่าใจมีอารมณ์เป็นหนึ่ง(เอกัคคาก)

         จงพิจารณาต่อไปให้ถ้วยถี่ ก็จะเห็นว่า ในแต่ละขันธ์ คือ รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ มก็มีเห็น จำ คิด รุ้ ทั้ง ๔ อย่างนี้เจือด้วยหมดทุกขันธ์

          "ดวงกาย" และ เห็น จำ คิด รู้ นี้เอง ทีขยายส่วยหยาบออกมาอีก เป็นกาย ใจ จิต วิญญาณ ของมนุษย์หรือสัตว์ทั้งหาาย ดวงคิด หรือ จิต นั้น ลอยอยู่ในเบาะน้ำเลี้ยงของหัวใจอันบริสุทธิ์ มีประมาณเท่า ๑ ซองมือของผุ้เป็นเจ้าของ และจิตน้โดยสภาพเดิมของมันแล้ว เป็นธรรมชาติที่ผ่องใส จึงมีชื่อว่า ปัณฑระ แต่เนี่องจากจิตมักตกไปนอารมณ์ ที่น่าใคร่ และมักน้อมไปสู่อารมร์ภายนอกอยู่เสมอ จึงเปิดช่องในกิเลสเข้ามาทำจิตใจให้เศร้ามหอง ไม่ผ่องใส ย้อมสีน้ำเลี้ยงของจิตไปตามสภาพของกิเลสแต่ละเประเภทที่ผ่านเข้ามานัน เป็นต้นว่า เมื่อจิตระคนด้วยโลภะหรือราคะ ก็จะเห็นเป็นสีชมพู เรหือเดือบเป็นสีเเดง เมื่อจิตระคนด้วยโทสะ ก็จะมีสีเขียวเข้มเกือบดำ ถ้จิตระคนด้วยโมหะก็จะมีสีเหมือนน้ำล้างมือเนื้อ สีขุ่น เทาๆ หรือสีตะกั่วัดก็มี ขึ้นอยู่กับสภาพของกิเลสว่าหนักเข่าเพียงใด

          นอกจานี้ อาการลอยของจิตในเบาะน้ำเลี้ยงของหัวใจนั้น ก็บอกอาการของจิตว่าฟุ้งซ่านหรือเซื่องซึม หรือ ปกติ หรือหยุดนิ่งในอารมณืเดียว เพียงใด หล่าวคือ ถ้าจิตลอยอยู่เหนือระดับน้ำเลี้ยงของหัวใจมาก ก็แสดงอาการของจิตว่า ฟุ้งซ่านมาก ถ้าลอยอยู่เหนือระดับน้ำเลี้ยงของหัวใจเพียงเล็กน้อย ก็นับว่าจิต มีสภาพปกติธรรมดา ถ้าลอยปริ่มพอดีกับระดับน้ำเลี้ยงของหัวใจก็เป็นเอกัคคตา และถ้าจมลงในเบาะน้ำเลียงหัวใจ ก็หลับ ถ้าจมลงมากก็สิ้นสติไปเลย อย่างนี้เป็นต้น... "หลักและวิธีเจริญสมถะและวิปัสสนากัมมัฎฐานเบื้องต้น ถึง ธรรมกาย"


คำสำคัญ (Tags): #จิตเห็นจิต
หมายเลขบันทึก: 648214เขียนเมื่อ 14 มิถุนายน 2018 20:00 น. ()แก้ไขเมื่อ 14 มิถุนายน 2018 20:00 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท