ข้อปฏิบัติที่ควรทำความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนา ตอนที่ ๒


            ๔ การกำหนดอารมร์ ตามหลักปฏิบัติในสติปัฎฐานนั้น ให้กำหนดที่อารมณ์ปัจจุบัน เช่น เวลาจักขุวิญญาณเกิดขึ้น หรือโสตวิญญาณเกิดขึ้น คือ เห็น หรือได้ยินได้ฟัง ซึ่งเป็นนามเกิดขึ้น จะต้องกำหนดอะไร กำหนดจักขุวิญญาณ หรือดสตวิญญาณ คื อเห้น หรือได้ยิน ซึ่งเป้นตัวนามธรรมที่เกิขึ้น ก็ต้องกำหนดที่นามเห็น หรือที่นามได้ยิน นั้น ๆ หรือเวานั่งเวลานาอนเป็นต้น ซึ่งเป็นรูปธรรม ก็กำหนดที่รูปนั่ง หรือรูปนอนนั้นๆ หมายคึวามว่า ขณะกำหนดนั้นจะต้องมีนามอะไร หรือรูปอะไร ร่วมไปในอารมณ์ปัจจุบันนั้นด้วยเสอ นี้เป็นหลักสำคัญ ที่จะต้องมีนามอะไร รูปอะไร ในการกำหนดนั้นด้วย โดยมากเวลาสอนวิปัสสนาภูมิก็สอนจริง แต่เวลาปฏิบัติไม่ได้นำเอารูปอะไร นามอะไร ที่จะต้องกำหดนในเวลา นั้นไปใช้เลย และบางท่านก็ไม่รู้ด้วยว่า จะต้องใช้ที่ตรงไหน และเวลาไหน

            ส่วนมากไม่ค่อยจะทราบว่า การกำหนดรูปอะไร นามอะไร นั้นเป้นความสำคัญ เพราะนามรูปนั้นจะต้องติดตามไปจนถึงอนุโลมญาณ รูปนามติดตามเรื่อยไปทุกๆ ญาณ เช่น เห็น รูปนามไใ่เที่ยง ห็นรูปนามเป็นภัย รูปนรมเป็นโทษ เบื้อหน่ายในรูปนาม อยากพ้นไปจากรูปนามเหล่านี้ จ้องมีรูปนามติดตามตลอดไป ไม่ใช่ว่าพอถึงนามรุปปริจเฉทญาณแล้ว ก็ไม่ต้องมีรูปนามอีก ไม่ใช่เช่นนั้น ย่ิงกหหนดรูปนามมากเข้า หรือดูรูปนามมากเข้า ก็ยิ่งเห็นโทษเห็นภัยของรุปนามนั้นเอง ไม่ใช่จะไปเห็นโทษเห็นภัย หรือเบือยหน่ายอะไร

          ฉะนั้น จึงจำเป็นต้องมีรูปนามติดตามเรื่อยไ ปเวลาที่กำหนดอะไร กำหนดอย่างไรในเวลานั้น เมื่อวเลาปฏิบัติก็ต้องนำเอาปริยัติที่เรียนมาแล้วไปใช้ให้ถุกในขณะที่กำหนด

          ๕ เหตุผลในการปฏิบัต ิการเจริญวิปัสสนานั้น ผุ้ปฏิบัติควรจะได้เตุผลว่า เพราะอะไร จึงต้องปฎิบัติเช่นนั้น การปฏิบัติเช่นนั้นเพื่อประยชน์อะไร เช่น ขณะกำหนดอิริยาบภ เมื่อฟุ้งเกิดขึ้นก็ไม่สามารถกำหนดอิริยาบถได้ทำให้กลุ้ม ทำให้เบื่อหน่ายต่อการปฏิบัติ หรือว่ากำหนดอิริยาบถแล้ว แต่กำหนดไม่อยู่ เมื่อกำหนดไม่ได้ ก็ไปกำหนดฟุ้งตามที่อาจารย์บอกการที่ดุนามฟุ้งนั้น เพื่อประโยชน์อะไร มีเหตุผลอย่างไร ความสำคัญอยู่ที่ตงเหตุผลอยู่ที่ตรงเข้าใจ ไม่ใช่อยู่ที่ตรงกำหนด เหตุผลนั้นสำคัญมากที่จะตัดสินได้ว่า การปกิบัตินั้นผิดหรือถูก ไม่ใช่ดุนามุฟุ้งเพราะอาจารย์สั่ง ก็ทำไป หรือเพื่อให้ฟุ้งหาย แล้วจึงจะกำหนดอย่างอืนๆ้ เช่นนี้เป็นความเข้าใจที่ไม่ถุก

          ๖ ความสังเกต เป้นความสำคัญในการเจริญวิปัสสนา เมื่อสังเกตุรู้ว่าการกำหนดนั้นตกไปจากอารมณ์รุูปนามแล้ว ก็จะกลับมาตั้งอยู่ที่อารมณืรูปนามปัจจุบันได้อีก 

           ถ้าไม่รู้ คือ ไม่มีความสังเกตุแล้ว เมื่อจิตตกไปจากอารมณ์ รูปนามก็ตำไปเลย ทำให้เสียปัจจุบันไป เช่น ในการดูรูปนั่ง ผุ้ปฏิบัติก็กำหนดรูปนั่งนั่นเอง แต่จิตตกไทางสมาธิเรื่องนี้ผุ้ปกิบัตเป็นกันมาก จึงควรรู้ว่ ในระหว่างที่กำหนดรูปนั่งอยู่ในขณะนั้น อินทรีย์ ๕ เสมอกันหรือไม่ บางอินทรีย์ก็เกิน บางอินทรีย์ก็หย่อน  อารมร์ของวิปัสสนาก็เกิดไม่ได้ เรพาถ้สมาธิมากเกิดไป ความรู้สึกตัวก็ไม่อยู่ที่ปัจจุนธรรม คือ จิตใจเฉยไปที่จะรู้สึกตัวว่า ขณะทชนี้กำหนดูรุปนามอะไร หรือดุรูปนามอะไรก็ไม่รุ้ สมาะินั้นทำให้เฉยเสีย แต่ผุ้ปกบิัตเเข้าใจว่า ยังดุรูปนั่งอยู่ อรเื่องนี้ผุ้ปกิบัติจะต้องมีความสังเกตในเวลานั้นว่า ทำถูกหรือไม่ เมื่อรู้ว่าไม่ถูก ก็จะได้กลับมาทำความรุ้สึกตัวใน้ถูกในอารมณ์ ปัจจุบันได้ใหม่

          เรื่อง ความสังเกตในการเจริญสติปัฎฐานหรือเจริญวิปัสสนานั้น ในสังยุตตนิกายอุปมาเหมือนพ่อครัวผุ้ปรุงอาหารถวายพระราชา พ่อครัวต้องคอยสังเกตุในการปรุงอาหารถวายพระราชานั้นว่า อาหารอย่างนั้น รสอย่างนั้น เป้นที่โปรดของพระราชา พ่อครัวจึงได้รับบำเหน็จรางวัล อุปมาฉันใด อุปไมยการเจริญวิปัสสนาก็ฉันั้น ผุ้ปกิบัติจะต้องมีความสังเกตุว่า ตนทำถูกหรือไม่ ถ้าทำถุกก็ย่อมได้รับผล คือวิปัสสนาปัญญานั่นเอง

         อนึ่ง เรื่องการกำหนดอริยาบถนั้น ผุปฏิบัติบางท่านอาจเข้าใจ่า รูปนั่ง รูปนอน รูปยืน รูปเดิน ในอริยาบถบรรพนั้น ไม่ใช่รุ้ในจำนวนของรูปปรมัตถ์ ๒๘ 

         ความตริงแล้ว รูปนั่ง รูปนอน รูปยืน รูปเดิน ก็เป็นรูปธรรมในจำนวนรูปปรมัตถ์ ๒๘ นั่นเอง คือเป็นวิการรูป ในที่นี้หมายถึงเป้นอาการเปลี่ยนแปลงของรูปรมัตถ์ที่เกิดจากจิตเป้นสมุฎฐานนั่นเอง เพราะในรูปอิริยาบถทั้ง ๔ ย่อมเกิดจากจิตเป็นสมุฎฐานทั้งสิ้น และจิตที่เป้นสมุำฐานในรูปอริยาบถเกิดขึ้ไนด้นั้นต้องเป็นจิตชรูปพิเศษ เกี่ยวกับอาการไหวกาย ในคนที่ตายหรือคนที่นอนหลับ ย่อมไ่มีรุปอริยาบถนี้

         ก็ในรูปใดรูปหนึ่งนั้น จะต้องมีอวินิพโภครูป ๘ อยู่แล้ว และรูปนั่ง รูปนอน รูปยืน รูปเดิน ก็จะต้องมีอวินพิพโภครูป ๘ กับกายวิัญญัติ และวิการรูป ๓ อยุ่ด้วย ถ้าไม่มีอวินพโภครูป ๘ กายวิญญัติ และวิการรูป ภ แล้ว การนั่ง การนอน การยืน การเดิน ก็สำเร็จไม่ได้ เรพาะรูปอิริยาลถนี้ เกิดจากจิตเป็นสมุฎฐาน

          อีกอย่่างหนึ่งเรื่องกรดุ ในที่นี้หายถึง ดุด้วยสติสัมปชัญญะ ไม่ใชดุด้วยตาเหนื้อ พูดง่ายๆ ว่า เอาใจดุ หรือดุด้วยใจนันเอง แม้คำว่า "เพ่ง" ก็ดี "พิจารณา" ก็ดี หรือกำหนด" ก็ดี โดยความมหาย ในการเจริญวิปัสสนานี้ ก็เป็นอย่าเชงเดียวกันกับคำว่ ดู หมาุยถึง รู้สึกตัวอยุ่ในอารมร์รูปนาที่เป้ฯปัจบุน ด้วยสติสัมปชัญญะ บางท่านอาจจะใช้คำว่า"รู้" ก็ได้ ที่ใช้คำว่า "ดุไ เพราะห็นว่าเหมาะสนแก่การทำความเข้าใจได้ง่าย คือคำว่า ดู หรือ รู้ นี้ มีลักาณะที่เป็นปัจจุบัน โดยตัดอดคต ตัดอนาคต ออกไปดีก่าคำอื่น เช่น ผุ้ปฏิบัติมีหน้าที่อย่างเดียวเท่านั้นคือ ดุรูปนาม หรอรู้รูปนาม ให้เหมเือนกับการดูละคร ละครคือรูปหรือนามอะไรก็ตาม เขาแสดงอย่างไรก็ดุไป แล้วผุ้ดุก็จะรู้เรื่องที่เขาสแดงโดยผุ้ดุไม่ต้องไปจัดแจงกัตัวละครว่า ต้องแสดงอย่างนั้นอย่างนี้เลย เช่น ขณะที่ผุ้ปฏิบัตินั่งอยู่อ ผุ)กบิัตก็รู้สึตัวว่าดุรูปนั่ง รูปนั่งเป็นตัวกรรมฐาน เปรียบเหมือนตัวละครที่แสดงท่าทางที่นั่งอยู่ ส่วนดุ คือ ตัวสติสัมปชัญญะ ที่มความรู้สึกตัว ดุรูปนั่ง ดังน้ั้นเป็นต้น..

         - บางส่วน วิปัสสนากัมมัฎฐาน สายปฏิบัติมี รูป นาม เป็นอารมณ์

          

หมายเลขบันทึก: 646386เขียนเมื่อ 10 เมษายน 2018 23:11 น. ()แก้ไขเมื่อ 10 เมษายน 2018 23:11 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท