โสฬสญาณ


          การลำดับญาณ ในโสฬสญาณ

          ญาณที่ ๕  ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็นความดับไปแต่อย่างเดียว ญาณนี้อยู่ในพระไตรปิฎกา คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมมภิทามรรค (ญาณที่ ๗ ของญาณ ๗๓) โดยมิได้เรียกชื่อว่า ภังคญาณ เพียงแต่ให้ความหมายว่าเป็นปัญญาเห็นความแตกไปเท่านั้น แต่ในคัมภีร์อรรถกถา ได้แสดง และให้ชื่อญาณนี้ว่า "ถังคานุปัสสนาญาณ" ซึ่งสาระสำคัญของญาณี้ ก็คืออารมณืที่เป็นบัญญัติถูกเพิกถอนจนหายไปหมด ซึ่งทไใผุ้ปฏิบัตเห็นแต่อารมรณ์ที่เป็นปรมัตถ์ล้วนๆ ปรากฎขึ้นมาแทน อีกทั้งยังตัดนิวรณื ๕ ได้อย่างสมบูรณ์

          จิตเดร่ิมแสดงอารมณ์ปรมัตถ์แท้ๆ และเห็นความเป็นอนัตตาของจิตชัดเจนขึ้น สติปัำฐานเร่ิมทำงานได้อคล่องแคล่ว และกำหนดทันรูปนามได้อย่างเป็นธรรมชาติ โดยมีเพียงอารมร์ที่ดับและหายไป อย่างไรก็ดีภังคญาณเป็อารมร์ดับที่มีการเกิดอยุ ังไม่ใช่การดับของผลสมาบัติหรือนิโรธสมาบัติ

          ญาณที่ ๖ ภยญาณ

          บางก็เรียกว่าภยตูปัฎฐารฐาณ ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรุ้เห็น รูปนามนี้มีแต่แตกดับไปอย่างเดียว ซึ่งตกอยุ่ในสภาวะที่น่าหวาดเสียว และน่าสะพรึงกลังเหมือนคนกลัวสัตว์ร้าย ในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทมรรค(ญาณที่ ๘ ของญาณ ๗๓) คือ ทาทีนนวญาณ วึ่งได้รวมวิปัสสนาญาณที่ ๖.๗ และ ๘ เข้าด้วยกัน ส่วนในคัมภีร์อรรถกถาได้แยกแสดงภยญาณ ไว้เป็นญาณแรกใน ๓ ญาณ ของอาทีนนวญาณ

          ผู้ที่ถึงญาณนี้ได้ ้องปฏิบติจนำให้อินทรีย์เกิดควมสมดุล ในการกำหนดอารมร์ภายในและภายนอก โดยที่อินทรีย์ของสมาธิไม่มากเกินไปแม้ว่าอารมณ์ที่กำหนดจะเร่ิมเปลี่ยนแปลงแปลกไปจากเดิม จนบางคร้้งอาจสงสัยผุดคิดขึ้นว่า ทำไมรูปนมเหรือารมณืท่กำหนดอยู่เป็นเช่นนี้เพราะผิดจากเดิมที่เคยเร่ิมฝึกและผิดจากธรรมชาติที่เคยเป็น ในบางครั้งอาจจะมีอามรณ์ของภายญาณผูดขึ้นมาในขณะปฎบัติได้ ช่วงนี้โยคียังกำหนดได้คล่องเพลิดเพลิน โล่ง โปร่ง และเบาสบาย จนรุ้สึกว่านังไป ๓๐ นาที่ั้นเวลาผ่านไปเหมือนไม่นาน เพราะโยคีกำหนดได้อารมณ์ปัจจุบันจริงๆ จนความคิดและการปรุงแต่งแทบไม่มีโอกาสเกิดขึ้นเลย

          ญาณที่ ๗ อาทีนวญาณ 

          ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็นว่า รูปนามนี้ไม่มีสาระแก่นสารอะไร ไม่มีส่งิที่น่าชื่นชม มีแต่ความโดดเดี่ยวและมีแต่ทุกข์โทษภัย เหมือนผุ้ที่เห็นไฟกำลังไหม้เรือนตนอยู่จึงคิดหนีจากเรือนั้นญาณนี้ปรากฎทั้งในพระไตรปิฎก และ คัมภีร์อรรถกถา

          โยคีกำหนดได้เท่าทันย่งิข้นกว่าก่อน แม้รู้นามจะปรากฎขึ้นเร้ซและพิศดารเป็นอย่างมาก แต่โยคยังกำหนดได้ดี ไม่ว่รูปนามจะเป็นอย่างไรโดยอารมณ์ภายในจิตขณะนงสมาธิท่กำหนดอยู่ ชัดเจนมากจนคล้ายกับเห็นได้ด้วยตา ในญาณนี้จิตที่อารมณ์ที่เบาสบาย และคล่องแคล่วเป็นที่สุดอย่างที่ไม่เคยเห็นมาก่อน อีกทั้งยังกำหนดได้เท่าทนอย่งเป็นธมชาติตามความเป็นจริง โดยู้สึกเหือนเวลาผ่านไปรวดเร็วมาก จนค้ายชั่วครู่เดีียวแม้ว่าจะนังไป ๓๐ หรือ ๔๕ นาที่ก็ตาม บางครั้งอาจเกิดอารมร์ของอาทีนวญาณผุดขึ้นได้ หากกำหนดได้ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง และเท่าทันทุกอามร์ โดยไม่ไปบังคับหรือฝืนธรรมชาิตของรูปนามแล้ว ดยคีจะก้าวหน้าสุ่ญาณที่สุงขึ้นไปในไม่ช้า

            ญาณที่ ๘ นิพพิทาญาณ

            ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็นว่า เกิดความเบื่อหน่ายในรูปนา และในขันธ์ ๕ ความเบื่อหน่ายจะเป็นอารมร์ที่ผุดขึ้นเอง ในระหว่าางการเจริญวิปัสสนากัมมัฎฐาน ที่มิใช่เกิดขึ้นจาการนึกคิดเอาเองด้วยกิเลส ญาณนี้ปรากฎทั้งในพระไตรปิฎก และ คัมภีร์อรรถกถา

           จิตเร่ิมเบือหน่ายต่อการปฏิบัติ บางคนถึงกับเลือนการปฏิบัติออกไป หรืออาจหยุดปฏิบัติไป และคิดว่าค่อยมาฝึกฆิบัติต่อภายหลัง วึ่งโดยรวมแล้วปฏิบัติผ่านได้ยาก แต่จิตก็ไม่มีทางหนีออาากรูปนามได้ ดังนั้นจึงต้องอดทนปฏิบัติต่อไปตามคำแนะนำ และการให้กำลงใจของวิปัสสนาจารย์เท่านั้ ที่จะช่วยให้มีความเข้าใจ จนทำให้ข้าพ้นญาณนี้ไปได้ (บางครั้งเกิดอาการเบื่อในการปฏิบัติ โดยที่ไม่เยปฏิบัติผ่านสภาวะธรรมของวิปัสนญาณที่ ๓ ถึง ๗ อาการนั้นจัดว่าเป็น ความเบื่อจากความคิดหรือกิเลส ไม่ใช่จากนิพพิทาญาณ)

             ญาณที่ ๙ มุญจิตุกัมยตาญาณ

             ปัญญาของจิตที่กำหนดจรรู้เห็นว่า ปรารถนาที่จะหนีออกจากรูปนามและใครจะพ้นจากขันธ์ ๕ ญาณนี้ปรากฎทั้งในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ซึ่งได้รวมวปิัสสนญาณที่ ๙,๑๐ และ ๑๑ ไว้ดวยกันในสังขารุเปกขาญาณ แต่ในคัมภีร์ อรรถกถา ได้ปรากฎชื่อและเรียกว่ มุญจิตุกัมยตาญาณเป็นญาณที่อยากหลุดพ้น และหนีไปจากรูปนาม แต่ก็หนีไปไหนไมได้ เพราะมีเพีงแต่รูปนามเท่านั้น และังต้องเจริญวิปัสสนาต่อไปอีก 

              หลังจากที่จิตเบื่อหน่ายในรูปนามแล้ว จิตไม่มีทางออกอื่นใหนอกเสียจาการยึดรูปนามเป็นอารมร์ ซึ่งเป็นอุปกรณือันเดีวที่ใช้นำพาให้จิตพ้นจากรูปนามหรือความทุกข์ ดยมีเป้าหมายคือพระนิพพาน ปัญญาของจิตที่เกิดขึ้นเองในญาณนี้จะเป็นต้องยึดรูปนาม แม้ว่าจะมีอยู่เพียงอย่างเดียว ซึ่งจะอยู่เฉยต่อไปไม่ได้ จำต้องสัมผัสแบบแลบออกไปสู่รูปนามอย่างเสียไม่ได้ อุปมาคล้ายกับ คนที่เอามือไปแตะผิวกาต้นน้ำร้อนเพีียงนิดเดียวเพื่อทดสอบว่าร้อนเท่าใด

            ญาณที่ ๑๐ ปฎิสังขาญาณ 

           ปัญญาของจิตท่กำหนดจนรู้เห็นเพื่อหาทางที่จะหนีออกจากนรูปนาม โดยหาอุบายที่จะเลื้องตนให้พ้นจากขันธ์ ๕ ญาณนี้ปรากฎทั้งในพระไตรปิฎิ และ อรรถกถา ส่วนในคัาภีร์วิทุะมรคใช้ชื่อว่า ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ

            ครั้งจิตจำต้องใช้รูปนามเป็นฐานเพื่อมุ่งสุ่ทางพ้นทุกข์ รูปนามเท่านั้นที่เป็นพาหนะอย่างเดียว เพื่อนไปสู่เป้ากมาย ดันั้นจิตจึงจำเป็นต้อง ยึดรูปนามเป็นฐานอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยสามารถกำหนดเห็นพระไตรลักษณ์ของรูปนาม (เกิดขึ้นต้งอยู่ และดับไปฉ ได้ชัดเจนอีกครั้งหนึ่งด้วยความเร็วช้าๆ อย่างสม่ำเสมอ เนื่องจากรูปนามนี้เป็นพาหนะสำัญอย่างเดียว ที่ใช้นำไปสู่อามรณ์พระนิพพาน.. https://www.vipassanathai.org/...

         

คำสำคัญ (Tags): #โสฬสญาณ
หมายเลขบันทึก: 645918เขียนเมื่อ 23 มีนาคม 2018 14:27 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มีนาคม 2018 14:27 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท