วสี ๕ ประการ


             สิ่งที่เรียกว่า วสี หมายถึงความชำราญแคล่วคล่องว่องไวในส่ิงที่จะต้องทำ และทำได้อย่างใจที่สุ จนกล่าวได้ว่า เป็นผู้มอำนาจเหนือสิ่งนั้นโดยเด็ดขาด

              คำว่าวสี โดยพยัญชนะ แปลว่า ผู้มีอำนาจ ซึ่งในที่นี้ได้แก่ความมีอำนาจอยู่เหนือการกระทำ สามารถทำอะไรได้อย่างผุ้มีอำนาจ คือแคล่วคล่องว่องไวไม่ติดขัด ได้อย่างใจอำนาจในกรณ๊ของการฝึกสมาธินี้ มทางมาจากความชำนาญในการฝึกฝน ย่ิงชำนาญเท่าไร ก็ย่ิงมีอำนาจมากขึ้นเท่านั้น แะนั้นใควมของคำว่า สสี โดยสั้นๆ ก็คือ ผู้มอำนาแห่งความชนาญ ั่นเอง เขาเป็นผู้มีความชำราญเกี่ยวกับฌาน ในกรณีดังต่อไปนี้ คือ ชำนาญในการกำหนด, ชำาญในกาเต้วฌาน, ขำนาญในการหยุดอยู่ในฌาน, ชำนาญในการออกจากฌาน และ ชำนาญในการพิจารณาฌาน รวมเป็น ๕ ประการด้วยกัน มีอธิบายดังนี้

          ๑. ชำนาญในการกำหนด เรียกว่า อาวัชชนวสรี ข้อนี้ได้แก่ความเชี่ยวชาญในการกำหนดอารมณ์ นิมิต และองค์ฌาน ได้เร็วขึ้นกว่าแต่กาลก่อนและเร็วทั้นใจ่ิงข้นไปทุกที วิธีฝึก คือเมื่อได้ปฏิบัติจนทำปฐมฌานให้เกิดขึ้นได้โดยนัยดังกท่กล่าวแล้วข้องต้น ก็คำนวณดูว่า การกำหนดอารมณืและนิมิตต่างๆ กระทั่งถงอค์ฌานทั้ง ๕ ของตนในหนหลังนั้น ได้เป็นมาอย่างไร ใช้เวลานานเท่าใดในการกำหนดอย่างหน่งๆ และในชั้นหน่งๆ บัดนี้เตาจะทำให้ดีกว่านั้นและเร็วกว่านั้น เพราะฉะนั้น จะต้องย้อนไปหัดกำหนดทุกส่ิงที่ตจะต้องกำหนในลักษณะที่เร็วกว่าเดิม กล่าวคือกำหนดลมหายใจ อย่างยาว อย่างสัน ได้ดีและเร็กว่าเดิม ำหนดผุสนาและฐปนาทำให้เกิดอุคคนิมิตได้เร็วกว่าเดิม กำหนดอุคคหนิมิตให้เปลี่ยนูปเป็นปฏิภาคนิมิตได้เร็วกว่าเดิม และในที่สุดก็คือการอาศัยปฏิภาคิมิตนั้น หน่วงเอาองค็เานทั้งห้า ให้ปรากฎออกมาได้ในลักษณที่รวเร็วกว่าเดิมย่ิงขึ้นทุกที กล่าวสุปให้สั้นที่สุดก็คือ กาซ้อมความเร็ม ในการกำหนด อารมณ์ นิมิต และองค์ฌานนั้นเอง

         ในการกำกนดเพื่อทำความเร็ซ หรือเร่งอัตรความเร็วอยางอนึ่งในที่นี้เ มื่อเร่งเร็วขึ้นมาได้อย่างใด ในขั้นแกๆ ต้องมีกรกำหนดในส่ิงทีปรากฎแล้วนั้นให้นานพอสควร คือนานพอที่จะเห็ฯชัดแล้วจึงค่อยเลื่อนไปกำหนดสิ่งที่ถัดไปทั้งนี้เพื่อความมั่นคงของส่ิงที่กำหนดได้ในอัตราความเร้ซใหม่ ทำดังนี้เป็นลำดบไปและเพ่ิมความเร็วให้มากข้นทุกที จีมความชำนญที่กล่าวไดวา รวดเดียวถึงนับั้งแ่การกำหนดอารมณ์ทุกขั้น กำหนดนิมิตทุกตอน จนกระทั่งถงองคฌานทุกองค์ มีผลทำให้การเจิรญสมาธิในั้งหลงๆ ีกรกำหนดสิงต่างๆ ลุล่วงไปเร็วกว่าเดิมและมั่นคงกว่าเดิม

        อุปมาที่จะช่วยให้เข้าใได้ง่าย เช่นผุ้ฝึกในการปรุงอาหาร เตรียมหาส่วนประกอบต่างๆ ที่จะเอามาปรุงกันขึ้นป็ฯอหารอยางหนึ่ง ในการทำได้ร้งแรกย่อมุงุ่ม่ามและชักช้า ก่าจะได้มาครบทุกอย่าง กว่าจะทำให้มีส่วนสัที่ถูกต้องได้ทุกอย่าง ก็กินเวบานาน แต่ในการปรุงอาหารอย่างเดียวกันนั้น เป็นครั้งที่ ๒ ครั้งที่ ๓ ที่ ๔ เขาอาจจะทำให้เร็วย่ิงขึ้นทุกที จนกะทั่งครั้งสุดท้ายจริงๆ ก็ทำได้เร็วเป็นวาเล่น ทั้งนี้ มีผลเนื่องมาจากฝึกกำหนดในส่ิงที่ได้ทำไปแล้ว ว่ามีอไะไรกี่อยางแ ละอย่างละเท่าไร เป็นต้นนั่นเอง จนมีความชำนาญถึงทีุ่ด ก็ทำไปได้เป็นว่าเล่น โดยปราศจากความยากลำบกหรือหนักอกหนักใจแต่ปะการใด ข้อนี้อุปมาฉันใด การฝึกกำหนด อารมณ์แตะละตอนนิมิตแต่ละขั้น และองค์ฌานแต่ละองค์ ของบุคคลผู้ทำปฐมฌานให้เกิดขึ้นได้เป็นครั้งแรก เพื่อความเชี่ยวชาญในขั้นต่อไป ก็มีอุปมัยฉันนั้น นี้เรียก่า มีอำนาจในการกำหนด

          ๒. ชำนาญในการเข้าฌาน เรียกว่า สมาปัชชวสี คำว่ "เข้าฌาน" ในที่นี้หมายถึงกริิยาที่อาศัยปฏิภาคนิมิต แล้วหน่วงเอาองค์ฌานทั้งห้า ทำให้เกิดขึ้นโดยครอบถ้วนและสมบูรณ์ ปรากฎอยู่เป็นฌานโดยนัยดังที่กล่าวข้างต้นอย่างละเอียด หากแต่ว่าการทำได้ใครั้งแรกน้น เป้นมาอย่างชักช้าและงุ่มง่ามฉะนั้นจะต้องฝึกให้เร็วเข้าโดยอาการเดีียวกันนั่นเอง คือสามารถทำปฏิภาคนิมิตให้ปรากฎขึ้นฉับพลัน หน่วงความรู้สึกที่เป็ฯองค์ฌานให้ปรากฎขึ้นฉับพลัน ย่ิงกว่าเดิมย่ิงขึ้นทุกที ด้วยการขยันฝึกนกระทั่งว่า พอสักว่คิดจะเข้าสู่ฌานก็เข้าฌานได้ ดังนี้เรื่องที่แท้ก็ไม่มีอะไรมากไปกว่าการทำของอย่างเดียวกันและอย่างเดิมนันเอง แต่ว่าทได้เร็วยิ่งข้นจนถึงอัตราเร็ซสูงสุด เมื่อเรื่องนี้เป็นเรื่องทางฝ่ายจิต ความเร็วก็มิได้ถึงขนดช่วเลาดีดนิ้วมือครั้งเดียวหรือกระพริบตาเดียว ก็เข้าอยู่ในฌาแล้วดังนี้เป็นต้น

        อุปมาในชั้นีี้ ปรียบเหมือนผู้ปรุงอาหารคนเดียวกัน ที่เคยใช้เวลาในการปรุงอาหารอย่างนั้นนานเป็นชั่วโง บัดนี้ อาจจะปรุงให้เส็จได้ภายใน ๕๐ นาที หรือ ๔๐ นาที ๓๐ นาที ร่นเข้าตามลำดับ จนถึงอัตราเร็ซสุงสุดของการปรุงอาหารอยางนั้น เช่นภายใน ๑๐ นาทีเป็นต้น เมื่อการจัดหาเคองผุงก็เร็วและการปรุงก็เร็ว ควมเร็วก็เพ่ิมขึ้นตามส่วนในการที่จะได้อาหารมารับประทานข้อนี้มีอุปมาฉันใด อาวัชชวสี ซึ่งเปรียบเหมือนการจัดหาเครื่องปรุง และสมาปัชชวสี ซึ่งเปรียบเที่ยบการปรุง ก็มีอุปมัยฉันนั้น ชั่วเวลากระพริบตาเดียวนั้น เป็นขีดสูงสุดของสมปัชชสี หือผู้มีอำาจในการเข้าฌานนั้น

         ๓ ชำนาญนกำหยุดอยู่ในฌาน เรียกว่า อธิฎฐานวสี คำว่า "อธิษฐาน" โดยพยั๙นะแปลว่ การตั้งทับ โดยใจควา ก็คือการตั้งทับฌานหรือหยุดอยู่ในฌนนั่นเอง ควมชำนาญในการหยุดอยุ่ในฌานสั้น หมายความว่าสามารถหยุดอยู่ในฌนไ้นานตามที่ตนต้องการจริงๆ ใขั้นแรกๆ ผู้เข้าฌานไม่สามารถจะหยุดอยู่ในฌานได้นานตมที่ตต้องการ หรือถึงกับไม่สามารถอยู่ได้นานด้วยซ้ำไป เขาจะต้องฝึกให้อยู่ในฌานได้นนยิงขึ้น ับตั้งแต่ไม่กีนาที จนถึงเป็นชั่วโมงๆ กระทั่งถึงเป็นวันๆ มี ๗ วันเป็นที่สุด และพร้อมกันนั้น ต้องฝึกให้ได้ตามที่ต้องการอย่างเฉียบขดจริงๆ ้วยเช่นจะอยู่ในฌานเพียง ๕ นาที ก็ให้เป็นเพียง ๕ นาทีจริงๆ ไม่ขาดไม่เกินแม้แต่เพียงวินาทีเดียวเป็นต้น จึงจะเรียกว่ามีความชำนาญได้ถึงที่สุดในกรณีแห่งอธิฎฐานวสีข้อสำคัญอยู่ที่การกำหนดในการเข้าและการออก มีความขำนราญนการเข้าและการออก สิ่งทีเรียกว่าอธิฎฐานหรือการหยุดอยู่ในฌานนั้น ได้แก่ ระยะยที่มีอยู่ในระหว่างกาเข้าและการออก เรพาะฉะนั้น เขาจะต้องฝึกให้มีความชำนาญทั้งในการเข้าและการออก จึงจะสามารถวบคุมกาหยุดในฌานให้เป็นไปได้ตามที่ตนต้องการจริงๆ เมื่อมีความชำนญในการหยุดอยู่ในฌน ก็ย่อมหมายถึงเป็นผุ้ชำราญในกาเข้า และการออกจากฌานอย่างยิ่ง อยู่ด้วยนตัวเป็นธรรมดาการฝึกในการนอนกลับชั่วเวลา ที่กำหนดไว้ แล้วตื่นขึ้นมาได้ตรงตามเวลาจริงๆ ก็นับว่าเป็นสิ่งที่น่าอัศจรย์อยู่แล้ว แต่การฝึกในอธิฎฐานวสีหรือการหยุดอยู่ในฌานนั้น สามารถทำได้เฉียบขาดกว่านั้น และน่าอัศจรย์ย่ิงไปกว่านั้น ทั้งนี้เป็นเพราะอำนาจของการฝึกอย่างเฉียบขาด จนมีความขำนาญขนาดที่เรียกว่า วสี หรือผู้มีอำนาจนั่นเอง

          อุปมาข้อนี้ เปรียบเมหือนการบริโภคอาหาร หรือการเก็บอาหารไว้บริโภคอย่างไรตามที่ตนต้องการ ด้วยความชำนาญอีกชั้นหนึ่ง หลังจากที่มีความขำนาญในการจัดหาเครื่องปรุงอาหาร และความชำนาญในการปรุง ังที่กล่าวแล้วข้างตน การหยุดอยู่ในฌานนานเท่าใดนั้น ย่อมแต่ความมุ่หมายซึ่งีอยุ่ากมายหลายอย่างด้วยกัน เช่นเข้าฌาเพื่อแสวงหาความสุขอยุ่ในฌานก็ใช้เวลาที่หยุดอยุ่ในเานนาน หรือนามนมาก ตามที่ตนต้องการ แต่ถ้าเป็นการเข้าฌานขั้นตนเพื่อเปลี่ยนเป็นฌานช้นสุงข้ไป การหยุอยู่ในฌานขั้นต้นๆ ขั้นหนึ่งๆ ก็มีเวลาน้อยลงไปเป็ฯธรรมดา ยิ่งถ้าเป็นการเข้าฌานอันเนื่องอ้วยการแสดงอิทธิปาฎิหาริย์อย่างใดอย่างหนึ่งด้วยแล้ว การเปลี่ยนฌาน จะต้องเป็นไปอย่างรวดเวยิ่งขึ้นไปกว่านั้นอีก ผุ้ที่สามารถเข้าฌานหยุดอยู่ในฌานและออกจากเานได้เร็วดังประสงค์ ในกรณีอย่างนีเรยกว่า ผุ้มีอำนาจในอธิฎฐานวสีถึงที่สุด

         ๔. ชำนาญในการออกจากฌานเรียกว่า วุฎฐนวสี ข้อนี้ีพฤติกรรมตรงกันข้ามตอสมาปัชชวสี กล่าวคือ สมาชัชชวสีเขาได้เร็ว ส่วนวุฎฐาวสีออามาได้เร็ว โดยอาการที่กล่าวได้ว่า ถอยหลงกลับออกมาในทำนองทีตรงกันข้ามต่อกันนั้นเอง ผุ้ที่ไม่มีความชำนาญในากรออก ย่อมออกได้ช้าหรือออกไม่ค่อยจะได้ตามที่ตนต้องการ จกความรู้สึกที่เป็นการอยู่ในฌาน มาสู่ความรุ้สึกปรกติอย่างสามัญธรรมดา ฉะนั้น เขาจะต้องฝึกในการถอยหลังกลับออกมาอย่ารวดเดียวถึงเช่นเดียวกัน ซึ่งโดยพฤตินัยก็ได้แก่การถอยจากวามรุ้สึกทีเ่ป็นฌาน มาสู่ความรู้สึกท่เป็นองค์ฌาน มาเป็นปฏิภาคนิมิต มาเป็นอคุคหนิมิตกระทั่งมาเป็นการบริการรม หล่าวคือการกำหนดลมหายใจในชั้นละเอียด และขั้นปรกติธรรมดาเป็นที่สุด หากแต่ว่การกระำทางจิตนี้เมื่อฝึกถึงที่สุดแล้วย่อมเป็นไปได้เร็วอย่างสายฟ้าแลย จึงเป้นส่ิงที่ยากจะสังเกตว่ามีลำดับมาอย่างไรโดยแทจริง ทางที่ดีที่สุดนั้น วรจะฝึกมาอย่างช้าๆ ที่ละขั้นๆ และอย่างเป็นระเบียบดังที่กล่าวแล้วนั่นเอง จากฌานสูงองค์ฌาน จากองค์ฌานสูปฏิภาคนิมิต จากปฏิภาคนิมิตสู่อุคคหนิมิต จากอุคคหนิมิตสู่ฐปนาและผุสนาขั้นต้นๆ จากฐปนาและผุสนาสู่การกำหนดลมหายใจสั้นยในขณะแห่งการบริกรรม เมื่อฝึกได้อย่างเป็นระเบียบแล้ว จึงเร่งให้เร็วเข้าทุกทีจนถงเร็วที่สุด ีเรียกว่าแว็บเดียวถึง ดัที่กล่าวแล้ว การทำได้อย่างนีเรยกว่า ผุ้มีอำนาจถึงที่สุดในการออกจากฌาน

            อุปมาในกรณีนี้ เหมือนกับการเลิกกินอหารอย่างมีระเบียบและรวดเร็วและเป็นผลดีถึงที่สุด

            ๕. ชำนาญในการพิจารณา เรียกว่า ปัจจเวกขณวสี ข้อนี้หมายถึงความชำนาญในการที่จะพิจารณาดูส่ิงต่างๆ เช่นลักษณะอาการ พฤติและความสัมพันะ์เป็นต้น ที่เกี่ยวกับฌานนั้นโดยทั่วถึงอีกครั้งหนึ่ง เพื่อให้มีควมแจ่มแจ้งแคล่วคล่องว่องไวในสิ่งนั้น โดยตลอดสาย อย่างทบทวนไป ทบทวนา วิะีปฏิบัติคือ เมื่ออกจกฌนนันแล้ว อย่าเพ่อลุกกที่นั่ง อย่าเพ่ิส่งใจไปเรื่องอื่นหรือคิดเร่องใดๆ แต่จะกำหนดพิจารณาดุสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวกับฌานนั้นอย่างทบทวนไปมา คือลำดังต่างๆ แห่งการเข้าฌานและการออกจากฌาน ทั้งขึ้นทั้งล่ออยางทั่วถึงอีกครั้งหนึ่ง ทั้งนี้ กระทำดดยทำนองของการพิจารณาในขั้นอาวัชชนวสีนั่นเอง เป็นเที่ยวขึ้นจนถึงที่สุดคือความเป็นฌาน การหยุดอยู่ในฌน หรือแม้การเสวยสุขเนื่องก้วยเานนั้น ในลักษณะแห่งวิกขัมภนวิมุตติจนเพียงพอแล้วจึงย้อนกลับลงไปตามลำดับ โดยทำนองของอาวัชชนวสีเที่ยวถอยกลับ จนกระทั่งถึงขณะแห่งบริกรมเป็นที่สุด การกระทำทั้งนี้ย่อมเป็นการตรวจดูสมาธิของตเองตั้งแต่ต้จนปลาย ทั้งขาขึ้นและขาลง หรือทั้งเทียวเข้าเทียวออกอย่างละเอียดทุกๆ ขั้นไป เพื่อความแจ่มแจ้งยิ่งๆ ขึ้นไป เพื่อความชำนาญยิ่งๆ ขึ้นไปในโอกาสหน้าและมีผลพิเศษ เพื่อความพอใจในการที่จะบ่มอิทธิบาท และอินทรีย์ของตนให้แก่กล้ายิ่งๆ ขึ้นไป ในการปฏิบัติธรรมข้างหน้าด้วยอีกโสดหนึง ถ้าไม่เชี่ยวชาญในวสีข้อนี้ ย่อมไม่เป็นผุ้คล่องแคล่วถึงที่สุดในวสีข้ออื่น ดังนั้น วสีข้อนี้จึงป็นเหมือนการประมวลไว้ซึ่งความรู้ และความชำนาญแห่งวสีข้ออื่นไว้ทั้งหมดอย่างเป็นระเบียบและมั่นคงนั่นเอง

           อุปมาในกร๊นี้ เปรียบเหมือนบุคคลที่เสาะแสวหาเครื่องปรุงอาหารอย่างชำนาญ แล้วมาปรุงอย่างชำนาญ แล้วบริโภคอย่างชำนาญ แล้วเลิกบริโภคหรือถ่ายออกอย่างชำนาญ และสามารถพิจารณาเห็นคุณและโทษของอาหารนั้นอย่างชำนาญ ด้วยการพิจารณาทบทวนไปมา จากต้นไปยังปลาย จากปลายไปยังต้น ก็ย่อมทีความรุ้ความชำนาญในเรื่องของอาหารได้ถึงที่สุด ข้อนี้มีอุปมาแันใด การกระทำในขั้นแห่งปัจจเวกขณสี ซึ่งเป็นความชำนาญชั้นสุดยอด ก็มอปมัยฉันนั้น

           ทั้งหมดนี้ เป็นการฝึกในวสทั้งห้า ส่วนที่เกี่ยวกับปฐมฌาน เมื่อทำห้ถึงที่สุดแล้ว ก็เรียกว่าเป้นผุ้ท่ควมคล่องแคล่วในปฐมฌาน หรือมีปฐมฌานอยู่ในอำนาจของตัวโดยแท้จริง

          หลังจากนันก็มี การปฏิบัตในวสี ที่เป็นการเลื่อขึ้นไปสู่ฌานที่สูงข้นไปตามลำดับ กล่าวคือทุตยฌาน ตติยฌาน และจตุตถฌาน โดยวิธีการดังที่กล่าวแล้วข้างต้น ในตอนอันว่าด้วยฌานนั้นๆ โดยละเอียดแล้ว วิธีฝึก้อเมือได้ฌานใหม่มาอีกขั้นหนึ่ง ก็พึงฝึกในวสีทั้งห้า โดยอาการทำนองเดียวกับการฝึกวสีในั้นปฐมฌาน ไม่มีอะไรที่ผิดกันเลย หากแต่ว่าสูงขึ้หรือไกลออกไปทุกทีๆ เท่านั้นเมื่อการฝึกสวีในปฐมฌานถึงที่สุดแล้ว ก็เร่ิมการปฏิบัติเพื่อการลุถงทุติยฌาน ครั้งทำทุติยฌานให้เกิดขึ้นได้แล้ว ก็ฝึกวสีทั้งห้าในส่วนทุติยฌานสืบไป แต่ว่าในการฝกั้น ้องย้อนไปตั้งต้มาตั้งแต่ระยะต้นของปฐมฌานด้วยทุกคราวไป กล่าวคือให้มความชำนาญมาตั้งแต่ต้นจนปลาย เนื่องกันไปตลอดสายเสมอ อย่าได้มีความประมาท ตัดลัดฝึกแต่ตอนปลายเป็นขั้นๆ ตอนๆ เลยเพราะเป็นเรื่องของจิตเป็นของเบาหวิว อาจสูญหายไปได้ง่าย ไม่ว่าตอนไหน ฉะนั้นจะต้องฝึกไว้ตลอดสาย ทุกคราวไป แม้การปฏิบัติของผุ้ใดจะได้ดำเนินไปโดยทำนองนี้ จนขึ้นถึงขั้นจุตถฌานแล้วก็ตาม การปฏิบัติในวสีในตุตถฌานนั้นคราวหนึ่งๆ ก็จะต้องย้อนไปตั้งต้นมาตั้งแต่ระยะต้นของปฐมฌานอยู่นั่นเอง เพื่อ "ความชำนาญตลอดสาย" และเพื่อ "ความชำนาญในการเปลี่ยนฌานที่สัมพันธืกันอยู่เป็นลำดับ" การทำอย่างนี้ นอกจากมีประโยชน์ ในความแตกฉานและมั่นคงในเรื่องของฌานแล้ว ยังมประโยชน์อย่างยิ่ง ในการที่จะดำเนินเข้าสู่ลำดับของสมาบัติในขั้นสูง อันหากจะพึงมีข้างหน้าในเมื่อต้องประสงค์

             อานาปานสติภาวนา พุทธทาสภิกขุ

คำสำคัญ (Tags): #วสี ๕
หมายเลขบันทึก: 644454เขียนเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2018 19:49 น. ()แก้ไขเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2018 20:41 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท