ฌาน ๔


           ปฐมฌาน ประกอบด้วยองค์ห้า คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา ข้อนี้หมายความว่า จิตในขณะแห่งปฐมฌานนั้น มีความรุ้สึกปรากฎอยู่ที่จิตหรือภายในความเพ่งของจิต อยู่ถึง ๕ อย่างด้วยกัน แม้จะไม่ใช่ความิดที่เป็นตัวเจตนา อยุ่ถึง ๕ อย่างด้วยกัน แม้จะรู้สึกปรากฎอยู่่ที่จิตหรือภายในความเพ่งของจิต อยู่ถึง ๕ อย่างด้วยกัน แม้จะไม่ใช่ความคิดที่เป็นตัวเจตนา เป็นเพียงตัวความรู้สึกที่รู้สึกเฉพยๆ แตการที่มอยู่ถึง ๕ อย่างนั้นนับว่ายังอยู่ในชั้นที่ไม่ประณีต เพราะบังมีทางที่ทำให้ประณีตย่ิงขั้นไปอีก นับว่ายังหยาบอยุ่ เพราะยังต้องคุมถึง ๕ อย่าง ยังหนักเกินไป ยังอาจจะย้อนหลังไปสู่ความกำเริบได้ง่ายอยู่ ความรู้สกจึงอาจเกิดขึ้นได้โดยสามัญสำนึก ในใจของผู้ปฏิบัติ โดยทำนองนี้ว่า ถ้าอย่างไร เราจะละความรู้สึกที่เป็นองค์ฌานบางองค์เสียเพื่อความสงบรำงับบิ่งขึ้นไปอีก เพ่อมีความประณีตย่ิงขึ้นไปอีก เพื่อความตั้งอยู่อย่างแน่นแฟ้นมั่นคงย่ิ่งขึ้นไปอีก เพื่อมีความหนักในการกระทำที่น้อยลงไปอี เพือความไว้ใจได้ว่าจะไม่กลับกำเริบบ้อนหลังย่ิ่งขึ้นไป ดังนั้น เขาจึงพิจารณาหาลู่ทางที่จะละความรู้สึกทีเ่ป็นองค์ฌนบางอค์ออกไปเสีย ให้เหลือน้อยลงทุกทีจนกระทั่งถึงฌานสุด้ยสำหรับปฐมฌานนั้น ประกอบอยู่ด้วยองค์ห้า ถ้ามองดุด้วยสายตาของะรมดาก็จะรู้สกว่าสบรำงับอบ่างยิง เพราะเป็นฌานชั้นหนึ่งจริง ๆ ประณคตและสุขุมจนยากที่คนธรมดาจะทำได้ แต่เืองมองดวยตาของพระโยคาวจรชั้นสูง หรือสายตาของพระอริยเจ้า กลับเห็นเป็นของที่ยังหยาบอยู่ ยังไม่สู้จะประณีต และัง่อนแง่นไม่น่าไว้ใจ จึงปรารถนาช้นสูงขึ้นไป โดยเหตุนี้เง จึงมการปฏิบัติเพื่ทุติยฌานเป็น ต้น สืบไป

        ทุติยฌาน ประกอบด้วยด้วยองค์สาม เพราะละ วิตก วิจารเสียได้ หมายวามว่า ผุ้ปฏิบัตได้พิจารณาสอดส่องดูองค์ฌานทั้งห้า แต่ละอง์ๆ อย่างทั่วถึงแล้วรู้สึกว่า วิตก และวิจาร เป้นวามรุ้ึกที่ยังหยาบ หรือยังกระด้างกว่าเขาทั้งหมด จึงเริ่มกำหนดองค์เานดดยวิธีอื่น คือละะความสนใจในควมรู้สกที่เรียกว่าวิตกวิจารนั้นเสีย ยิ่งผละความรู้สึกไปเสียจากวิตกแลวิจารได้เท่าไรก็ยิ่งรู้ึกอองค์เานที่เหลือมากขึ้นเท่านั้น ยกตัวอย่างเมื่อนกับว่า เราดูของ ๕ อย่าง หรือ ๕ ชิ้นพร้อมกัน ต่อมาละความสนใจน้ินที่หยาบที่สุ  หรือหยากว่าช้ินอื่นๆ เสียสักสองช้ิน ให้เหลือเพียง ภ ชิ้น การเพ่งนั้นก็อยู่ในลักษณะที่เรียกได้ว่าละเอียดกว่า ประณีตกว่า หรือสูงกว่า เป็ต้น วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการละวิตก และวิจาร ก็มอุปมัยอย่างเดียวกัน คือ ผู้ปกิบัติจะต้องออกจากปฐมฌานเสียก่อน แล้วย้อนกลับไปตั้งต้นอานาปานสติมาใหม่ ตั้งแต่ขณะแห่งคณนาและอนุพันธนา เพื่อกำหนดิ่งที่เรียกว่า วิตก วิจา อย่างหยาบๆ มาใหม่  ทั้งนี้เพื่อกำหนดความหยาบ หรือลัการเฉพาะของความวิตก วิจรให้แ่ามชัดเป็นพิเศษ เืพ่อการกำหนดในอันที่จะละเสียว่า วามรู้สก ๒ อย่างนี้เราจักไม่ใ้มาข้องแวะอีกต่อไป จักไม่ให้เหลืออยู่นความรุ้ึก ัดังนี้ ก็สามาถทำความรู้สึกที่เป็น วิก วิจาร ให้ระงับไปได้ด้วยการเปล่ยนไปเพ่ิมกำลังแห่งการกำหนดให้กแก่ความรุสึกเปนปีติ และสุข นั่งเอง ฌานที่เกิดข้นจึงีองค์เพียงสาม และเหตุนั้นเอง จึงจัดเป้ฯการก้าวหน้าชั้นหนึ่ง ใในระบบของูปฌาน

           ตติยฌาน ประกอบด้วยองค์สอง เพราะปีติถุกละเพีิมขึ้นอีองค์หนึ่งจากที่ทุติยฌานเคยละมาก่อน ข้อนี้ก็มหายความอย่งเีดยวกันกับเื่องของกาละในชั้นทุติยฌาน กล่าคื อเมื่อผุ้ปปฏิบัติได้เข้าอยู่ในทุติยฌาน และพิจารณาองค์แห่งทุติยฌานจถึงที่สุดอยุ่ย่อยๆ แล้ว นนเข้าก็เกิดสังเกตุและมความรุ้สกขึ้นมาได้เองว่า แม้ปีติก็ยัเงอป้นองค์ฌานที่หยาบ ถ้าละออกไเสียได้ ก็จะเกิดความรำงับยิ่งไปกว่าที่จะยังคงไว้เป็นแน่นอน จึงมีควาตังใจหรอธิษฐานใจในการที่จะละความรุ้สึกส่วนที่เป็นปีตินั้นเสีย ห้ยัคงีแต่ความสุข ไม่ต้องมีความซาบซ่านคือมีแต่ความสุขที่สงบรำงับด้วยอำนาจของสติสมปชัญยะที่ถึงที่สุด ในที่สุก็ละ"ด้โดยวิธีอย่างเดียวกับการละวิตกและวิจาร

          จตุตถฌาน ปะกอบด้วยองค์สองก็จิง แตส่งิที่รียกว่าความสขตันได้ถุเปลี่ยนเป็นอุเบกขา ั้งนี้ ก้ด้วยเหตุผลอย่างดียวกันกับที่ได้กล่ามาแล้วจชาน คือเมือพิจารณาสอดส่องอยุ่เสมอ จนเห็นเป็นของที่ยังหยาบหรือเป็นของท่ยังรุนแรงอยู่ ยังกวัดแกว่งได้งายอยู่ ยังทำให้รำงับยิ่งขึ้นไปกว่านั้นได้อีกจงพยายามรำงับควารูสกที่เป็นสุขนั้นเสีย ลหืออยุ่แตความเพี่งในส่งิที่สักว่าเป็ฯเวทนาเฉยๆ ไม่เป้นที่ตั้งแห่งวามยินดีว่าควาสุขอีกต่อไป ความเพ่งในระยะนี้เป็นความเพี่งแนวแนถึงที่สุด สงบรำงับถึงที่สุด จิตสนิททถึงที่สุด หรือขาวผ่องถึงทสุดคือเหลืออยู่แต่ความรู้สกท่เป้ฯความเพี่งเฉพยๆ กับความที่จิตที่อาราณืเพียงอย่างเดียว คือ ในส่ิงที่ใจเพ่งเฉยนันเองถ้าถามว่ามันเพ่งอะไร ก้๖รอบได้ว่ามันเพ่งอยู่ทีความรู้สึกอย่างหนึ่งของจิจ ซึ่งเป็เพียงความรู้สึกเฉยๆ ภ้าจะเรียกโดยชื่อภาษาาลี ก้รเียกว่า อุเบกขาเวทนา หรืออทุกขมสุขวเทนา ั่นเอง อิงอาศัยอยุกับลมกายใจออาเข้า มีมูลมาจกลหยใจออกเข้า แตมิใช้ตัวลมหายใจออกเข้ามิใช่ตัวการหายใจออกเข้า เป็นแต่เพียงความรุ้สึกอันใดอัหนนึ่งซึ่งเกิดใหม่หรือถูกสร้างขึ้นใหม่จกการกำหนดลมหายใจ หรอมีลมหายใจมูลฐาน สำหรับในกรณีนี้ นับว่าเป็นชั้นสุด้ายของรูปฌาน

            - อานาปานสติภาวนา พุทธทาสภิกขุ

คำสำคัญ (Tags): #ฌาน ๔
หมายเลขบันทึก: 644345เขียนเมื่อ 31 มกราคม 2018 21:21 น. ()แก้ไขเมื่อ 31 มกราคม 2018 21:21 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท