[8] #KMHeatStroke


[8]
#KMHeatStroke
พ.อ.ณัฐนนท์ ภุคุกะ 
ผอ.รพ.ค่ายสุรศักดิ์มนตรี
ท่านเคยอยู่ยโสธร ทำงานร่วมกันในยุคสมัยท่าน นพ.กวี ไชยศิริเป็น ผอ.รพ.ยโสธร

ท่านมาร่วม Reflection เติมเต็มและต่อยอดทำให้มองเห็นกระบวนการการทำงานชัดเจนขึ้น

Reflection 
- กสวป.ควรกำหนดชัดเจน Mission หรือจะเป็น Hearing? => กระจายงานไปสู่ความรับผิดชอบของแพทย์ใหญ่ทั้ง 4 ภาคและทำงานสอดคล้องกับบริบท
- ทักษะการป้องการ HS ขึ้นกับ จนท.ในหน่วยฝึก แต่ยังมีข้อจำกัด ภาระจึงตกที่ รพ.ค่าย (ภาระงาน+ภูมิประเทศ) 
- Gap บุคคลที่มาเป็นผู้ฝึกเป็นคนใหม่หมุนเวียน ความรู้เรื่องโรคและความรู้ทางทหารยังมีไม่มากระบบของนักเรียนนายร้อยยังขาดการเน้นในเรื่อง HS "ทีมนิเทศจึงต้องตระหนักในเรื่องนี้"
- ร่วมมือกับ รพ.ในพื้นที่ + หัวหน้าหน่วยลงร่วมนิเทศด้วยจะทำให้ระบบการนิเทศราบรื่น
- Heat injury ควรมองให้เป็น out come => ให้ความรู้+Buddy แก่ทหารใหม่ ผู้ฝึกมีหน้าที่เป็นผู้คัดกรอง 
- Out put (1) ผลการคัดกรอง (2) สีปัสสาวะ => เป็นปัจจัยสำคัญ ที่จะนำไปสู่ความรุนแรงในการเกิด Heat injury *** ปัสสาวะ สามารถบอกอะไรบางอย่างในการจัดการของหน่วยฝึก
- Refer อย่างทันเวลา  (Note***ขาย idea สพฉ.) ทหารมีไข้ (สะท้อนถึงหน่วยฝึกไม่ส่งทันที อย่างน้อยประมาณหนึ่งชั่วโมง) การให้น้ำเข้าไปในเส้นเลือดให้เร็วที่สุด
 Note การคัดกรอง+ตามรอย+ประวัติการนำส่ง  *** Daley Dx***
- ***คัดกรอง+ให้น้ำ"****
- หัวใจของการนิเทศ คือ Out Put  
- รร.นายร้อย จปร. **บทเรียนน่าสนใจไม่เกิด Heat Stroke*** น่าสนใจและถอดบทเรียน

เน้น
- ผู้นำ (ผอ.)
- ผู้ปฏิบัติมีความรู้ มีทักษะ 
- ทำงานด้วยความเสียสละ ตั้งใจ

19-10-60


หมายเลขบันทึก: 640379เขียนเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2017 08:22 น. ()แก้ไขเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2017 08:22 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท