8.ประวัติความเป็นมา เส้นทางรถไฟสายมรณะ Historical background: 'Death Railway'


ประวัติความเป็นมา เส้นทางรถไฟสายมรณะ

ใน ค.ศ. 1943 ทหารเชลยศึกนับพันนาย และแรงงานชาวเอเชียร่วมแรงสร้าง ทางรถไฟสายมรณะ สายนี้ภายใต้การควบคุมของจักรพรรดิ์ญี่ปุ่น เพื่อสร้างทางรถไฟสายไทย - พม่า ระยะทาง 415 กิโลเมตร ซึ่งทหารเชลยศึกส่วนมากมาเป็นชาวฮอลแลนด์ ชาวออสเตรีย และชาวอังกฤษ ได้เริ่มก่อสร้างทางรถไฟจากทางทิศใต้ของเมืองทันบูซายัด (ประเทศพม่า) เพื่อเชื่อมต่อระหว่างทางรถไฟฝั่งไทย เส้นทางสายนี้ใช้เป็นเส้นทางขนส่งเสบียงอาหารและเชลยศึกไปยังประเทศพม่า กองทหารญี่ปุ่นกับกองทหารอังกฤษได้สู้รบกันโดยที่วิศวกรชาวญี่ปุ่นได้เลือกเส้นทางที่เป็นหุบเขาและภูเขาซึ่งถือว่าเป็น งานที่ลำบากมากสำหรับเหล่าเชลยศึก ที่ต้องก่อสร้างด้วยแรงมือ และสัตว์ (ช้าง) อีกทั้งไม่สามารถทำงานด้วยเครื่องจักร ในช่วงทางรถไฟระยะ 50 กิโลเมตร จากอำเภอn ด่านเจดีย์ ซึ่งปัจจุบันเป็นช่วงเขตผ่านแดนระหว่างไทย - พม่า อย่างไรก็ตามหลังสงครามโลกสงบลงทางรถไฟเส้นนี้ได้ถูกรื้อถอด เนื่องจากความไม่ปลอดภัยของการเดินทาง อีกทั้งการเมืองในช่วงนั้นไม่เปิดโอกาสสำหรับการเมือง

Historical background: 'Death Railway'

In 1943 thousands of Allied Prisoners of War (PoW) and Asian labourers worked on the Death Railway under the imperial Japanese army in order to construct part of the 415 km long Burma-Thailand railway. Most of these men were Australians, Dutch and British and they had been working steadily southwards from Thanbyuzayat (Burma) to link with other PoW on the Thai side of the railway. This railway was intended to move men and supplies to the Burmese front where the Japanese were fighting the British. Japanese army engineers selected the route which traversed deep valleys and hills. All the heavy work was done manually either by hand or by elephant as earth moving equipment was not available. The railway line originally ran within 50 meters of the Three Pagodas Passwhich marks nowadays the border to Burma. However after the war the entire railway was removed and sold as it was deemed unsafe and politically undesirable. The prisoners lived in squalor with a near starvation diet. They were subjected to captor brutality and thus thousands perished. The men worked from dawn until after dark and often had to trudge many kilometres through the jungle to return to base camp where Allied doctors tended the injured and diseased by many died. After the war the dead were collectively reburied in the War Cemeteries and will remain forever witness to a brutal and tragic ordeal.

หมายเลขบันทึก: 626453เขียนเมื่อ 25 มีนาคม 2017 18:42 น. ()แก้ไขเมื่อ 25 มีนาคม 2017 18:42 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท