ทำอย่างไรจะพัฒนาศักยภาพของบุคคลหรือประชาคมเหล่านี้ให้มีสุขภาวะอยู่เย็นเป็นสุข


“ทำอย่างไรจะพัฒนาศักยภาพของบุคคลหรือประชาคมเหล่านี้ให้มีสุขภาวะอยู่เย็นเป็นสุข”

1.ผู้สูงวันนอนติดเตียงยากจน มีปัญหากลืนลำบาก หกล้นจนปวดหลังรุนแรง และมีคนดูแล

เริ่มจากการเข้าไปสัมภาษณ์พูดคุยกับผู้รับบริการ สังเกตถึงปัญหาต่างๆของผู้รับบริการ หากเขาได้รับบาดเจ็บก็ควรพาไปหาหมอแล้วทำการรักษาพยาบาลก่อนเป็นอันดับแรก รักษาอาการปวดหลังจากการล้ม เมื่อรักษาพยาบาลอาการดีขึ้นนักกิจกรรมบำบัดก็เข้าไปช่วยในด้านจิตใจ จากปัญหาด้านต่างๆทั้งเรื่องเศรษฐกิจความยากจน ด้านครอบครัวที่ละเลย ทำให้ผู้รับบริการนั้นเกิดความเครียดได้ การเข้าไปคุยทำความรู้จักถามถึงปัญหา เพื่อที่จะให้เขาไว้ใจเชื่อใจเรา เล่าความต้องการหรือปรับทุกข์กับเราได้ เมื่อทำการสัมภาษณ์เสร็จแล้วนั้น ก็ทำการวางแผนการรักษา ตั้งเป้าหมายการรักษาในระยะยาว แล้วทำการบำบัดรักษา ผู้รับบริการมีปัญหาการการกลืนอาหาร นักกิจกรรมบำบัดก็ช่วยกระตุ้นกลืน และผู้รับบริการมีปัญหานอนติดเตียง ก็ดัดแปลงกิจกรรมช่วยผู้รับบริการให้เคลื่อนไหวและช่วยตัวเองให้ได้มากที่สุด พยายามช่วยให้เขาลุกขึ้นนั่งให้ได้ด้วยตนเอง กินข้าวด้วยตนเอง พูดคุยกับครอบครัวเขาให้ช่วยดูแล หากผู้บริการอยู่ตัวคนเดียวก็หาบ้านพักใหม่มีผู้ดูแลมีสังคม(Social participation ) และหากิจกรรมเข้ารักษา ทั้งร่างกายและจิตใจ

2.วัยทำงานมีภาวะซึมเศร้าและไม่มีงานทำ ต้องให้พ่อแม่ผู้สูงวัยเลี้ยงดู

เริ่มจากการเข้าไปสัมภาษณ์พูดคุยกับผู้รับบริการ สังเกตถึงปัญหาต่างๆของผู้รับบริการ หากเขาได้รับบาดเจ็บก็ควรพาไปหาหมอแล้วทำการรักษาพยาบาลก่อนเป็นอันดับแรก รักษาอาการปวดหลังจากการล้ม เมื่อรักษาพยาบาลอาการดีขึ้นนักกิจกรรมบำบัดก็เข้าไปช่วยในด้านจิตใจ จากปัญหาด้านต่างๆทั้งเรื่องเศรษฐกิจความยากจน ด้านครอบครัวที่ละเลย ทำให้ผู้รับบริการนั้นเกิดความเครียดได้ การเข้าไปคุยทำความรู้จักถามถึงปัญหา เพื่อที่จะให้เขาไว้ใจเชื่อใจเรา เล่าความต้องการหรือปรับทุกข์กับเราได้ เมื่อทำการสัมภาษณ์เสร็จแล้วนั้น ก็ทำการวางแผนการรักษา ตั้งเป้าหมายการรักษาในระยะยาว แล้วทำการบำบัดรักษา ผู้รับบริการมีปัญหาการการกลืนอาหาร นักกิจกรรมบำบัดก็ช่วยกระตุ้นกลืน และผู้รับบริการมีปัญหานอนติดเตียง ก็ดัดแปลงกิจกรรมช่วยผู้รับบริการให้เคลื่อนไหวและช่วยตัวเองให้ได้มากที่สุด พยายามช่วยให้เขาลุกขึ้นนั่งให้ได้ด้วยตนเอง กินข้าวด้วยตนเอง พูดคุยกับครอบครัวเขาให้ช่วยดูแล หากผู้บริการอยู่ตัวคนเดียวก็หาบ้านพักใหม่มีผู้ดูแลมีสังคม(Social participation ) และหากิจกรรมเข้ารักษา ทั้งร่างกายและจิตใจ

3.วัยรุ่นไม่ไปโรงเรียน ย้ำคิดย้ำทำ ผัดวันประกันพรุ่ง และติดเกม

โรคย้ำคิดย้ำทำ หรือ Obsessivecompulsive disorder เกิดจากการที่เรานึกคิดเรื่องใดเรื่องหนึ่งวนไปมา วิตกกังวลกับเรื่องนั้น จากกรณีผู้รับบริการเป็นเด็กวัยรุ่นที่ติดเกม สาเหตุมาจากหลายสาเหตุแต่จากกรณีนี้เกิดจากความเครียดของผู้รับบริการทำให้เขาต้องทางทางระบายความเครียด คือการเล่นเกม นักกิจกรรมบำบัดจึงมีหน้าที่เข้าไปพูดคุยกับคนในครอบครัวถึงปัญหาที่เกิด หาสามเหตุของความเครียดที่ผู้รับบริการกำลังประสบแล้วหาแนวทางการแก้ไขรักษา วางแผนเป้าหมายการรักษาร่วมกับครอบครัวขอผู้รับบริการเพราะครอบครัวเป็นปัจจัยสำคัญในทุกๆเรื่อง กำลังใจที่ดีที่สุดคือครอบครัว การบรรเทาโรคนี้ได้คือการทำให้เขาลบความเครียดที่เคยประสบแล้วใส่ข้อมูลใหม่ให้เขาเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ทำให้เขาลืมความคิดไม่ดี แล้วย้ำความคิดใหม่ๆให้เขา ปลูกความคิดใหม่ให้เขา พูดคุยกับครอบครัวให้เข้าใจโรคนี้แล้วรับมือกับสถานการณ์ต่างๆ เข้าใจเขาให้มากที่สุด ใช้ใจในการรักษาเพราะโรคเกิดจากจิตใจเราก็ต้องใช้จิตใจในการรักษา

4.วัยเด็กสมาธิสั้น ก้าวร้าว ตีคนแปลกหน้า และไม่ชอบออกจากบ้าน

โรคสมาธิสั้นในเด็กเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่นการที่สมองบางส่วนทำงานไม่ปกติตั้งแต่ในครรถ์มารดา เป็นโรคลมชักเป็นต้น จากข้างต้นผู้รับบริการเป็นเด็กก้าวร้าว ตีคนแปลกหน้า ไม่ชอบออกไปไหน อาจจะเคยโดนคนแปลกหน้าทำร้ายจนทำให้ฝั่งใจ ไม่กล้าไปไหนและก้าวร้าวต่อคนแปลกหน้า นักกิจกรรมบำบัดจึงมีหน้าที่ที่จะเข้าไปคุยกับคนในครอบครัวของผู้รับบริการ พูดถึงปัญหาที่เกิด สาเหตุองปัญหา ถามรายระเอียดของผู้รับบริการให้มากที่สุดแล้วมาวิเคราะห์หาแนวทางการบำบัดรักษา วางเป้าหมายการรักษาระยะยาว ละทำการบำบัดรักษา ขั้นแรกคุยกับผู้ปกครองของเขาถึงโรคที่เขาเป็นอยู่อธิบายให้เข้าใจว่าครอบครัวควรรับมืออย่างไรกับเด็ก เพราะหากว่าเด็กดื้อหรือซนมากพ่อแม่ยิ่งไปทุบตีเขาก็ยิ่งทำให้เด็กก้าวร้าวมากขึ้น และนักกิจกรรมบำบัดก็หากิจกรรมให้เขาได้ฝึกสมาธิ เช่น กีฬา ดนตรี ศิลปะ ให้เด็กฝึกทั้งสมอง และร่างกาย ถ้าเริ่มดีขึ้น อาการเริ่มสงบ พ่อแม่ก็เข้าไปสอนในเนื้อหาที่เรียนได้ ดังนั้นการสร้างแรงจูงใจให้เขาสนใจในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ก็จะฝึกสมาธิให้เขาเป็นอย่างดี

นางสาวดุสิตา หวั่นเส้ง 5823006 เลขที่ 6 PTOT



เอกสารอ้างอิง

เนื้อหาโรคซึมเศร้า http://www.thailabonline.com/mental-depress.htm


การรักษาด้วย พฤติกรรมบำบัด http://www.doohealthy.com/article/disease/mental/90-health.html


เนื้อหาโรคย้ำคิดย้ำทำ http://www.healthcarethai.com/โรคประสาทแบบยํ้าคิดยํ้/

คำสำคัญ (Tags): #exam
หมายเลขบันทึก: 616312เขียนเมื่อ 30 กันยายน 2016 19:18 น. ()แก้ไขเมื่อ 30 กันยายน 2016 19:18 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท