DLIT


Transcript of "การจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ(Distance learning via information technology ; dlit)"

  1. DLTV & DLIS สพฐ. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาดวยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม (DLTV) ----------------------------------------------------------------------- ความเปนมาและความสําคัญ สืบ เนื่องจากขอสั่งการของหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ เกี่ยวกับเรื่องที่ตองเรงรัดดําเนินการใน ประเด็นดานการศึกษาเรื่องการขาด แคลนครูในโรงเรียนพื้นที่หางไกลรวมทั้งการ เพิ่ม โอกาสทางการศึกษาใหแกเด็ก จึงไดพิจารณาใหมีการศึกษาและขยายผลโครงการการศึกษาทางไกลผาน ดาวเทียมไป ยังพื้นที่อื่นๆโดยกําหนดใหใชการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม (DLTV) ในโรงเรียนขนาดเล็กทั่ว ประเทศ จํานวน 15,369 โรงเรียน นอกเหนือจากที่สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ที่ดําเนินการมาอยางตอเนื่องและไดผล การดําเนินการจัดการศึกษาทางไกลผานดาวเทียมในโรงเรียนขนาดเล็กทั่วประเทศ จะบรรลุ วัตถุประสงคและมีประสิทธิภาพไดนั้น มีความจําเปนตองมีการพัฒนาการศึกษาทางไกลผานดาวเทียมยาง ตอเนื่องและ ยั่งยืน มีการขับเคลื่อนไปสูการปฏิบัติทั้งในระดับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ระดับสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและระดับโรงเรียน วัตถุประสงค 1. เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 5 ธันวาคม 2557 2. เพื่อชวยแกปญหาโรงเรียนขนาดเล็กที่ประสบปญหาการมีครูไมครบชั้น ครูสอนไมตรงสาขา วิชาเอก 3. เพื่อขยายผลโครงการการศึกษาทางไกลผานดาวเทียมไปยังพื้นที่อื่นๆ ใหมีผลเปนรูปธรรมโดยเร็ว เปาหมาย 1. ดานปริมาณ 1.1 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จํานวน 183 เขต 1.2 โรงเรียนขนาดเล็ก จํานวน 15,369 โรงเรียน 1. ดานคุณภาพ 2.1 นักเรียน 2.1.1 นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค ไมนอยกวารอยละ 80 2.1.2 นักเรียนมีทักษะการอาน คิดวิเคราะห และเขียน ไมนอยกวารอยละ 80 2.1.3 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นจากปการศึกษาที่ผานมา ไมนอยกวารอยละ ๓ หรือสูงกวาคาเฉลี่ยของสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2.3 ครูผูสอน รอยละ 80 สามารถจัดการเรียนรูดวยสื่อการศึกษาทางไกลผานดาวเทียมไดอยางมี ประสิทธิภาพ 2.4 ผูบริหารสถานศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็ก รอยละ 100 สามารถบริหารจัดการศึกษาทางไกล ผานดาวเทียมไดอยางมีประสิทธิภาพ 2.5 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา รอยละ 100 มีการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาทางไกลผาน ดาวเทียมสูการปฏิบัติในระดับ โรงเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ
  2. วิธีการดําเนินงาน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไดรับมอบหมายนโยบายและดําเนินกิจกรรมโครงการ ดังนี้ 1. การจัดหาและติดตั้งอุปกรณการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม 2. อบรมผูบริหารและครูปลายทาง 3. งานประชาสัมพันธ 4. งานการนิเทศ ติดตาม ประเมินและรายงานผลโครงการการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม โรงเรียนปลายทาง 1.กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว 1) การจัดงานรวมพลังการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม 2) กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 2. การพัฒนาผูบริหารเขตพื้นที่ ผูอํานวยการโรงเรียนและครูปลายทาง - การพัฒนาผูบริหารเขตพื้นที่ ผูอํานวยการโรงเรียนและครูปลายทาง - พัฒนาบทบาทหนาที่ของผูบริหารการศึกษา ศึกษานิเทศก ผูอํานวยการโรงเรียน ครูปลายทางอยาง ตอเนื่องโดยผานชองทางการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม (DLTV14) หรือชองทางอื่น - พัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอนในแตละสาระการเรียนรูโดยใชสื่อการศึกษา ทางไกลผาน ดาวเทียม ผานชองทางการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม (DLTV14) หรือชองทางอื่น 3. การจัดกิจกรรมเสริมสรางความยั่งยืน โดยจัดกิจกรรมกระตุนโรงเรียนใหเกิดการพัฒนาอยางตอเนื่อง ไดแก -กิจกรรมเตรียมความพรอมของครูกอนเปดภาคเรียน -กิจกรรมสอนเสริม ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ,6 ตลอดปการศึกษา 4. การนิเทศ กํากับ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผล - นิเทศ กํากับ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผล - จัดทําคูมือ/แนวทางการนิเทศ - จัดประชุมคณะกรรมการนิเทศของ สพฐ.รวมกับ สตผ. - สพฐ.(คณะกรรมการนิเทศและสตผ.) นิเทศ กํากับ ติดตามการดําเนินงานของสพป. - สพป.นิเทศโรงเรียนในสังกัด - รายผลการดําเนินงานระดับเขตและระดับประเทศ 1) ผานระบบ Online โดยบริษัท Feedback 180 2) รายงานผลเชิงคุณภาพ 5. การสนับสนุนการดําเนินงานของโรงเรียนปลายทางการสนับสนุนการดําเนินงานของโรงเรียนปลายทาง - การปรับปรุงบรรยากาศหองเรียน - จัดซื้อวัสดุอุปกรณ Flash Drive ๓๒ GB สําหรับโรงเรียนขนาดเล็ก - ซอมแซมอุปกรณผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย - เครื่องกําเนิดไฟฟา 5.5 k แบบแรงดันคงที่ - จัดสรรงบสื่อ BBL Resource corner ให 15,369 โรงเรียนๆละ 3 ชุด
  3. การสรางเครือขายโรงเรียนขนาดเล็ก - จัดตั้งกลุมเครือขาย/ชมรมโรงเรียนขนาดเล็ก/จัดตั้งกลุมโรงเรียนพี่ โรงเรียนนอง 1) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู 2) กิจกรรมชวยเหลือแนะนํา 3) การแกไขปญหา 4) การเปนพี่เลี้ยง ฯลฯ 7. การจัดหาอุปกรณสนับสนุนการใชสื่อทางไกลผานดาวเทียมไปยังสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ สพฐ. 8. การมีสวนรวมของชุมชนองคกรตางๆ และการขยายโอกาสการเรียนรูสูชุมชน 9. การสื่อสารเพื่อการพัฒนารับฟงความคิดเห็นการสอบถามเพื่อปรับปรุงแกไขปญหาใหกับครู 10. กิจกรรมการบริหารงานโครงการการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม 1. ตรวจเยี่ยมการดําเนินงานการศึกษาทางไกลผานดาวเทียมของโรงเรียน - ผูบริหารระดับสูง และคณะทํางาน ทําการตรวจเยี่ยมการดําเนินงานการศึกษาทางไกลผาน ดาวเทียมของโรงเรียน 2. ประชุมราชการเพื่อการบริหารงานการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม - ประชุมราชการเพื่อการบริหารงานการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม 11. การดําเนินงานของโรงเรียนตนทาง 1) สนับสนุนอัตรากําลังครูที่ขาดแคลนของโรงเรียนตนทาง 2) การอบรมพัฒนาครู 3) การคัดเลือกแบบเรียน หนังสือ แบบฝก สื่อที่มีคุณภาพ แตละสาระการเรียนรู 4) การผลิตสื่อมัลติมีเดียการเรียนการสอนที่ทันสมัย การตูน แอนนิเมชั่น 12. สนับสนุนมูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม และสถานีวิทยุโทรทัศนการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม
  4. แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาดวยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล ผานโครงขายอินเทอรเน็ต (DLIS) สพฐ. --------------------------------------------------------------------------------- ความสําคัญ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระปณิธานอันแนวแน ในการที่จะนํา เทคโนโลยี สารสนเทศมาใชในการยกระดับคุณภาพชีวิตและเพิ่มโอกาสทางการศึกษาของประชาชน ทรงเจริญ รอยตามเบื้อง พระยุคลบาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่ไดทรงใชเทคโนโลยีสารสนเทศหลายรูปแบบ ในโครงการพัฒนา เพื่อนําความรมเย็นเปนสุขใหเกิดแกประชาชนชาวไทย งาน วิจัยของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอารไอ) ชี้ใหเห็นวาสาเหตุหลักสวนหนึ่ง ของปญหา คุณภาพการศึกษาไทย คือ การที่ระบบการศึกษาของไทยในปจจุบันเปนระบบที่ไมเอื้อตอการสราง ความ รับผิดชอบ (Accountability) หลักสูตรและตําราเรียนของไทยไมสอดคลองกับ การพัฒนาทักษะแหง ศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) ซึ่งมีผลทําใหการเรียนการสอน ตลอดไปจนถึงการทดสอบยังคงเนน การจดจําเนื้อหามากกวาการเรียนเพื่อใหมีความรูความเขาใจอยางแทจริง อีกทั้งสภาพการจัดการศึกษาของ ประเทศไทยในปจจุบัน กําลังประสบปญหาในดานคุณภาพของนักเรียน ปรากฎอยูในหลายพื้นที่ ซึ่งมีสาเหตุ จาก การขาดครูหรือครูไมครบชั้นไมครบสาระการเรียนรู ครูมีประสบการณหรือทักษะการจัดการเรียนรู นอย ขาดสื่อ อุปกรณที่ทันสมัยและการเขาถึงไดลําบาก ครูมีเวลาในการจัดการเรียนการสอนนอย กิจกรรม ของโรงเรียนมีมาก ทรัพยากรที่มีกระจัดกระจายไมสามารถนํามาใชประโยชนไดอยางคุมคา และการ แกปญหาตางๆก็ทําไดในวงจํากัด ดวย สภาพปญหาดังกลาวขางตน ผนวกกับความกาวหนาทางดานเทคโนโลยีการสื่อสารที่เกิดขึ้น อยางรวดเร็ว จึงเปนโอกาสในการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา ที่จะนําเอาเทคโนโลยีการสื่อสารมา เสริมสราง ความเขมแข็งหรือปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการเรียนการสอน ในการจัดการศึกษา โดยการจัด การศึกษาทางไกล ผานโครงขายอินเทอรเน็ต (DLIS) ดําเนินงานเรงดวนเพื่อแกปญหาคุณภาพการศึกษา โดยมี การจัดสภาพการสนับ สนุนการจัดการเรียนการสอน ของครูอยางครบถวน ทั้งกระบวนการออกแบบกิจกรรม การเรียนการสอนที่เนน กระบวนการสรางความรู จากการลงมือปฏิบัติ เนื้อหา ตลอดจนสื่อและอุปกรณที่ จําเปนในการจัดเรียนการสอน อันจะเปนการลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา ลดชองวางและเพิ่มโอกาสใน การเขาถึงการศึกษาที่มีคุณภาพใหกับ ประชาชนไทยทุกคน อันเปนการดําเนินการตาม รอยเบื้องพระยุคล บาท สนองพระราชดําริในการที่จะพัฒนา การศึกษาไทยใหเจริญกาวหนา วัตถุประสงค 1) เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 2) เพื่อสรางโอกาสใหครูและนักเรียนไดเขาถึงสื่อเทคโนโลยีการจัดการเรียนรูที่ทันสมัย 3) เพื่อใหครูสามารถพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรูสงผลตอคุณภาพการจัดการเรียนรูใหสูงขึ้น 4) เพื่อสรางเครือขาย การแลกเปลี่ยนเรียนรูในการจัดการเรียนรูของครูไดอยางกวางขวางและทั่วถึง 5) เพื่อระดมสรรพกําลังและทรัพยากรจากทุกภาคสวนมาชวยสนับสนุนการจัดการศึกษา
  5. เปาหมาย 1) ครูและนักเรียนทุกคนไดเขาถึงสื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรูที่ทันสมัยสอดคลองกับความ ตองการ 2) ครูที่สอนไมตรงกับวิชาเอกสามารถจัดการเรียนรูใหกับนักเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพและ เหมาะสม 3) สรางเครือขายแลกเปลี่ยนเรียนรูในการจัดการเรียนรูของครูไดอยางกวางขวางและทั่วถึง 4) มีการระดมสรรพกําลังและบูรณาการทรัพยากรจากภาครัฐและเอกชนชวยสนับสนุนการจัด การศึกษาอยาง เปนระบบ วิธีดําเนินงาน 1. การคัดเลือกโรงเรียนตนทางและการเตรียมความพรอม 1.1 เปาหมายโรงเรียนตนทาง จํานวน 300 โรงเรียน 1.1.1 โครงการหองเรียนไรพรมแดน จํานวน 220 โรงเรียน 1.1.2 โครงการ e-Classroom จํานวน 80 โรงเรียน 1.2 คัดเลือกกลุมสาระการเรียนรู 5 กลุมสาระหลัก ตามมาตรฐานและหนวยการเรียนรูที่มีปญหา 1.3 ประชุมผูเกี่ยวของ เพื่อคัดเลือกหองเรียน หรือ ครู จากโรงเรียนตนทาง 1.4 การเตรียมความพรอม 1.4.1 เตรียมความพรอมระบบเครือขายอินเทอรเน็ตและชองทางการสื่อสาร ปรับปรุงระบบ สวนกลาง 1.4.2 สํารวจความพรอมโรงเรียนตนทางโครงการหองเรียนไรพรมแดน และโครงการ e-Classroom 1.4.3 ประชุม ผอ.สพท., ผอ.โรงเรียน ศึกษานิเทศก และเจาหนาที่ผูรับผิดชอบ (ถายทอดสด) 1.4.4 ประชุมทางไกล ครู ที่ไดรับคัดเลือกจากโรงเรียนตนทาง และเจาหนาที่ 1.4.5 จัดสรรงบประมาณใหโรงเรียนตนทาง 1.4.6 จัดสรรงบประมาณใหโรงเรียนปลายทาง (DLIS) 1.4.7 จัดหาบุคลากร DLDC Technician จังหวัดละ 1 คน รวม 77 คน 2. แผนและการผลิต Content 2.1 ผลิตตามความจําเปนเรงดวนและมาตรฐานที่มีปญหา - จัดทําแผนการผลิต Content - จัดทํา แผนการเรียนรู/คูมือครู (รายวิชา/คาบ/ชั่วโมง) (ลงไปยัง ร.ร.ตนแบบ ในเขตพื้นที่ และมีสวนกลาง พรอมทีม เทคนิค ใหออกแบบแนวทางการทํางานใหชัดเจนขึ้น และดําเนินการแตงตั้งคณะทํางาน) 2.2 ผลิตใหครอบคลุมครบถวนตามหลักสูตร (4 ภูมิภาค) - จัดทําแผนการผลิต Content กลาง - จัดทํา แผนการเรียนรู/คูมือครูแบบ Active Learning (รายวิชา/คาบ/ชั่วโมง) เปนมาตรฐานกลาง 2.3 การผลิต DLIS Content โดยระบบของ OBEC Technology 2.3.1 โรงเรียนตนทางผลิต (Video) จากโครงการหองเรียนไรพรมแดน และโครงการ e-Classroom - บันทึกลวงหนา ในหนวยการเรียนรูที่มีปญหา - จัดการเรียนการสอนเพื่อถายทอดสด (Live) และบันทึกสําหรับ Video on Demand (* ในระยะยาว จําเปนตองมี Out sources เพื่อจัดการ Production House ) 2.3.2 การผลิตสื่อเสริมดวยตนเอง (App, Game, e-Book, Video, Image) ดวยโปรแกรม OBEC Authoring Tool, Google for Education หรือ เครื่องมืออื่นๆ
  6. 2.4 การผลิต Content โดยเทคโนโลยีจากเอกชน 2.4.1 Google for Education - Google Apps for Education - Thailand Education Channel by YouTube Education (DLTV + DLIS) - Google Classroom 2.4.2 Microsoft + Dtac 2.4.3 Apple iTunes You 2.4.4 True ปลูกปญญา 2.4.5 4G Virtual Operator 2.4.6 Feedback 180 2.5 การจัดหา e-Content เชน Learning Object ในรูปแบบ Educational Apps, Game และ VDO 2.6 การจัดสรางคลังสื่อ (Media Storage) 3. การกลั่นกรองและตรวจสอบคุณภาพ 3.1 การตรวจสอบความพรอมของระบบที่โรงเรียนตนทาง และโรงเรียนปลายทาง (ครอบคลุมระบบการ สื่อสาร คน เครื่องมือ และกระบวนการ ความพรอมของอาคารสถานที่ สําหรับ 4 ภูมิภาค) -การกลั่นกรองและ ตรวจสอบคุณภาพ e-Content โดยโปรแกรม OBEC Verification System โดยคณะกรรมการที่ สพฐ.แตงตั้ง - แตงตั้งคณะกรรมการ,บริหารโปรแกรม OBEC Verification System, ...) 4. การเผยแพรและรูปแบบการสื่อสาร 4.1 การสื่อสารแบบ Two-ways Communication (Live) 4.1.1 ดําเนินการถายทอดระบบ (VDO online) จากโรงเรียนตนทางในโครงการหองเรียนไร พรมแดน จํานวน 220 แหง ไปยังโรงเรียนปลายทางในโครงการหองเรียนไรพรมแดน จํานวน 650 แหง โดย สามารถสื่อสารกันแบบสองทาง 4.1.2 ดําเนินการถายทอดระบบ (VDO online) จากโรงเรียนในโครงการ e-Classroom จํานวน 80 แหง ไปยังโรงเรียนปลายทางในโครงการ e-Classroom จํานวน 145 แหง โดยสามารถสื่อสารกันแบบสองทาง 4.2 การสื่อสารแบบ One-way Communication (Live + Video on Demand) 4.2.1 ดําเนินการ ถายทอด DLIS Content ผาน IP Gateway 4.2.2 ดําเนินการถายทอด DLIS Content ผาน Video Streaming ดวยโปรแกรมใหบริการเผยแพร Content (OBEC Content Center) และ OBEC Video Portal 4.2.3 ดําเนินการถายทอด DLIS Content ผาน OBEC IPTV 4.3 ใหบริการ e-Content (App, Game, e-Book, Video, Image) ผานโปรแกรมใหบริการเผยแพร Content (OBEC Content Center) 4.4 ดําเนินการถายทอด DLIS Content โดยระบบเทคโนโลยีของเอกชน ผานความโครงการรวมมือตาง ๆ ระหวาง สพฐ. กับ เอกชน 5. การอบรมและพัฒนาบุคลากร 5.1 อบรมการผลิต DLIS-Content สําหรับโรงเรียนตนทาง 5.1.1 ครูประจําโครงการหองเรียนไรพรมแดน จํานวน 220 โรงเรียน 5.1.2 ครูประจําโครงการ e-Classroom จํานวน 80 โรงเรียน 5.2 อบรมทางไกลพัฒนาบุคลากร DLDC Support Team ระดับ สพท. สพท.ละ 2 คน 5.3 อบรมพัฒนาบุคลากร DLDC Technician จางไวที่จังหวัด จังหวัดละ 1 คน
  7. การนิเทศ ติดตาม สนับสนุน และประเมินผล 6.1 โรงเรียนปลายทาง จัดระบบการนิเทศภายใน 6.2 สพท. นิเทศ ติดตาม สนับสนุน และชวยเหลือโรงเรียนในโครงการ DLIS ทั้งโรงเรียนตนทางและ โรงเรียนปลายทาง แลวแตกรณี 6.3 สพฐ. จัดระบบการนิเทศ ติดตาม สนับสนุน ชวยเหลือ สพท. โรงเรียนในโครงการ DLIS 6.4 วิจัย และพัฒนาโรงเรียนในโครงการ DLIS เพื่อมุงสูความเปนเลิศ 7. การสื่อสารและประชาสัมพันธโครงการ DLIS สูสาธารณะ 7.1 แถลงขาว พรอมเปดตัวโครงการ DLIS “School Change Maker Festival“ ระดับประเทศ 7.2 มหกรรม ASEAN DIGITAL EDUCATION by DLDC 7.3 กิจกรรม School Change Maker Festival ระดับภาค ระยะที่สอง 7.4 กิจกรรมการสงเสริมความเปนเลิศ DLIS CHALLENGE 7.5 กิจกรรม Symposium 7.6 เว็บไซตโครงการ + Social Media + Call Center ปจจัยความสําเร็จ 1) นโยบายมีความชัดเจนและตอเนื่อง 2) ผูบริหารระดับเขตพื้นที่มีความตระหนักและใหความสําคัญ 3) มีระบบการกํากับติดตามและสะทอนผลที่มีประสิทธิภาพ 4) เจาหนาที่ที่รับผิดชอบมีความเขาใจและปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ 5) มีเจาหนาที่โรงเรียนตนทางที่รับผิดชอบการจัดการในดานเทคนิคและสื่ออุปกรณ 6) ผูบริหารโรงเรียนใหความตระหนักและใหความสําคัญ
คำสำคัญ (Tags): #Dlit
หมายเลขบันทึก: 593652เขียนเมื่อ 18 สิงหาคม 2015 23:46 น. ()แก้ไขเมื่อ 18 สิงหาคม 2015 23:46 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท