บริหารอย่างไรให้ได้ใจลูกน้อง


หลักจากที่เรียนจบเนื้อหา ในสาขาบริหารการศึกษามา 2 ปี ความคิดเปลียนมากมายและเห็นความสำคัญของการบริหารขึ้นมาทั้งที่เลย จากการสอบที่ผ่านมา 4 วิชา กลับเวลา อีก 6 ชั่วโมง ทำเอาตายกันไปคนล่ะข้างเลยนะครับ อันนี้เราสู่กันฟัง โดยอาชีพแล้วผมเป็นผู้สอน ไม่ได้อยากเรียนบริการการศึกษาเลยในความคิด แต่ก็เป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องมาเรียน เพราะอย่างนี้จึงเป็นต้นสายปลายเหตุเพราะการเป็นผู้บริหารนั้นจำเป็นอย่างมากที่ต้องเรียนรู้ หลักการ แนวคิด ในแบบต้่าง ๆ ตามหลัการบริหารของสถานศึกษาในความเป็นจริงหากสถานศึกษาแห่งใดมีจำนวนของบุคคลากรมาก งานที่ก็จะไปไปตามระบบที่สร้างเอาไว้ อยูที่ว่าจะดีมากน้องแค่ไหนเที่านั้นเอง แต่่สถานศึกษาไหนมีจำนวนบุคคลากรน้อง อันนี้สิครับ ลำบากยิ่งโรงเรียนเล็ก ๆ แล้ว ไม่ต้องพูดถึงนะครับ ตายไปเลย เค้าบอกว่า งานในภาระของครูมีอยู่ 3 อย่าง คือ 1 งานหลัก คือ งานสอน 2. งานรอง คือ หน้าที่ที่ได้รับหมอบหมาย 3. งานช่วย คือ ช่วยงานต่าง ๆ ลองดูกันเอสเองนะครับว่าผู้บริหารของท่านเลือกงานไหนเป็นงานสำคัญ ........คิดกันเอาเอง แล้วท่านจะได้คำตอบ ..............................

ความจริงหลักการบริหารท้งหมดที่เรารู้ ๆ กันอยู้ก็มีหลักการหลายอย่าง หลายหลักการไม่มีหลักการไหนดีที่สุด และ แย่ที่สุดนะครับ มีแต่เหมาะสม กับสถานศึกษา บริบท สถานการณ์ หรือ สิ่งที่เป็นอยู่ เพราะงานยังไงมันก็อยู่ที่งานอยู่ตามกรอบ แต่คนที่ทำงานนะสิครับเราต้องให้ความสำคัญของ คนที่ทำงาน เพราะ เค้าคือคนที่รู้จักงานดีที่สุด "ใช้คนให้ถูกกับงาน" และ "ใช้งานให้ถูกกับคน" การบริหารที่ดี คือตัวของผู้บริหารจะต้อง บริหารคนให้ได้ หากผู้บริหารทำเองหมดทุกอย่าง แสดงว่าผุ้บริหารไม่มีหลักการบริหารอยู่ในตัว คือ ใช้คนไม่เป็น เพราะอย่างนี้แล้วต่อให้งานดีแค่ไหน คนที่ทำงานไม่ใช้เป็นคนที่ตนเองใช้ก็เปล่าประโยชน์ กับอีกแบบหนึ่ง คือ ผู้บริหารมักจะเป็นกัน คือ คนที่ใช้ได้แต่ทำไม่เป็น กับ คนที่เป็นไม่อยากจะใช้จะใช้ อันนี้ จบทุกอย่าง นะครับ

สรุป คือ การบริหารหากจะให้มันเป็นไปด้วยดี ประสบความสำเร็จ ชัดเจน และมีประสิทธิ์ภาพก็ต้อง บริหารงาน บริหารความรู้สึกของคน และ บริหารเวลาให้ได้ จึงนับเป็นการบริการที่ดีที่สุด "งานยังไงมันก็เป็นงาน" แต่คนที่ทำงานสำคัญว่างาน " นะครับ

คำสำคัญ (Tags): #หลักการบริหาร
หมายเลขบันทึก: 586683เขียนเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2015 14:39 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2015 14:39 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท