แผนภาพกระแสข้อมูล แบบ DeMarco & Yourdon symbois


แผนภาพกระแสข้อมูล แบบ Demarco & Yourdon symbois
แผนภาพกระแสข้อมูล (DFD) เป็นเครื่องมือที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในการเขียนแบบระบบใหม่ โดยเฉพาะกับระบบที่ "หน้าที่" ของระบบมีความสำคัญและมีความสลับซับซ้อนมากกว่าข้อมูลที่ไหลเข้า


ส่วนประกอบของ DFD
DFD มีองค์ประกอบ 4 อย่าง ซึ่งใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ แทนดังต่อไปนี้
1. สัญลักษณ์แทนการประมวลผล (Process) เป็นวงกลม


2. สัญลักษณ์แทนกระแสข้อมูลเป็นลูกศร



3. สัญลักษณ์แทนแหล่งเก็บข้อมูลเป็นเส้นขนาน 2 เส้น โดยมีชื่อกำกับ



4. สี่เหลี่ยมผืนผ้าเป็นสัญลักษณ์แทนสิ่งที่อยู่นอกระบบ



การประมวลผลโพรเซส (Process) การประมวลผลโพรเซส (Process) คือ งานที่จะต้องทำแทนด้วยวงกลมและมีขื่ออยู่ภายในวงกลม เช่น


DFD ระดับสูงสุด (Context Level Data Flow Diagram) เพื่อให้เข้าใจการเขียน DFD ได้ดี เราทดลองเขียนแผนภาพนี้กับระบบบัญชีเจ้าหนี้ จากรูปเป็น DFD ระดับสูงสุดของบัญชี เจ้าหนี้ซึ่งมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "Context Diagram" ซึ่งระดับนี้จะบอกว่าระบบที่เราสนใจมีอินพุทเป็นอะไรผลลัพธ์ที่ได้จากระบบ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับระบบ ภายนอก







บรรณานุกรม
http://irrigation.rid.go.th/rid15/ppn/Knowledge/Sy...การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

คำสำคัญ (Tags): #system analysis and design
หมายเลขบันทึก: 581165เขียนเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2014 14:15 น. ()แก้ไขเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2014 14:27 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท