​บันทึกอนุทินครั้งที่ 8


บันทึกอนุทินครั้งที่ 8

รายวิชา การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ (102611)

ผู้สอน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อดิศร เนาวนนท์

โดย นายวัชระ เทียนทิพย์การุณย์ รหัสนักศึกษา 57D0103128 เลขที่ 28 ภาคพิเศษ หมู่ที่ 1

สาขา หลักสูตรและการสอน เบอร์โทร 088-4700094 e-mail : [email protected]

วันที่5 ตุลาคม 2557

วิทยากร นายศักดิ์เดช กองสูงเนิน (ผู้อำนวยการโรงเรียนเทศบาล 4 เพาะชำ)

สถานที่ โรงเรียนเทศบาล 4 (เพาะชำ)

เรื่อง การสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1.การเตรียมตัวล่วงหน้าในการศึกษาดูงานครั้งนี้

ได้ทบทวนเกี่ยวกับ ขั้นตอนในการจัดการความรู้ KM เครื่องมือเพื่อใชในการบรรลุเปาหมายอยางนอย 3 ประการไปพรอมๆ กัน ได้แก่บรรลุเปาหมายของงาน บรรลุเปาหมายการพัฒนาคน และบรรลุเปาหมายการพัฒนาองคกรไปสูการเปนองคกรแห่งการเรียนรู ดังนั้นการจัดการความรูจึงไมใชเปาหมายในตัวของมันเอง เมื่อไรก็ตามที่มีการเขาใจผิดเอาการจัดการความรูเปนเปาหมายความผิดพลาดก็เริ่มเดินเขามา อันตรายที่จะเกิดตามมาคือ การจัดการความรูเทียม หรือ ปลอม เปนการดำเนินการเพียงเพื่อใหไดชื่อว่ามีการจัดการความรูเทานั้นเอง ดังนั้นการจัดการความรู้ KM ต้องเป้าในการพัฒนางาน การพัฒนาคน การพัฒนาองค์กร

2.สิ่งที่คาดหวังจากการศึกษาดูงาน

สามารถมีความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการความรู้หรือการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษามากขึ้น และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงานหรือองค์ โรงเรียน ของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

3.ความรู้ความเข้าใจที่ได้รับ

บิลเกต

  • ทรัพย์สินทางปัญญามีค่าเท่ากับการเก็บรักษากล้วยหอม
  • เดิม "ความรู้เป็นพลังอำนาจอย่างมากมายแก่ผู้ที่ครอบครอง"
  • ใหม่ "ยิ่งให้มากเท่าไร ยิ่งได้มากเท่านั้น"
  • 1+1=3

องค์การแห่งการเรียนรู้ตาม Moldel ของ Senge

ระดับองค์กร 1 Shareed Vision มีวิสัยทัศน์ร่วมกัน

ระดับกลุ่ม 2.Team Learning เรียนรู้การจักและกัน

ระดับปัจเจก 3.Personal Mastery ใฝ่รู้มุ่งมั่นพัฒนาคน

4.Mental Model ฝึกฝนสร้างแผนที่ความคิด

5.Systems Thiinking ไม่ยึดติด เห็นความเชื่อมโยง

เรื่อง KM… ต้องเห็นความแตกต่างระหว่าง "ความรู้ 2 ประ เภท"

Explicit

วิชาการ หลักวิชา ทฏษฎี (Theory) ปริยัติ มาจากการสังเคราะห์วิจัย

ใช้สมอง (Intellectual) เป็นกฎเกณฑ์วิธีการขั้นตอนที่ผ่านการพิสูจน์

Tacit

ภูมิปัญญาเคล็ดวิชาปฎิบัติ(Practice) ประสบการณ์มาจากวิจารณญาณใช้ปฎิภาณ(Intelligent)

เป็นเทคนิคเฉพาะตัวเป็นลูกเล่นของแต่ละคนความรู้ภายนอกมีอยู่มากมายเปรียบเสมือนกับน้ำในมหาสมุทรที่มีจำนวนมาก ก้อนน้ำแข็งเปรียบเสมือนความรู้ที่มีอยู่ถ้าไม่รู้จักวิธีการจัดเก็บหรือประยุกต์ใช้ความรู้ที่มีก็ไม่เกิดประโยชน์การจัดการKMส่วนใหญ่ "ไร้พลัง" และ "ไม่สมดุล" เพราะเน้นการจัดการความรู้ Expllicit Knowledge

หน้าต่างความรู้ประตูปัญญา

รู้อะไร

ไม่รู้อะไร

รู้ว่า

1. Know Area

Explicit Knowledge

Implicit Knowledge

3. Unknow

ไม่รู้ว่า


2. Hidden Area

4. Blind Area

Tacit Knowledge

lgnorance

การจัดการความรู้

การจัดการความรู้ของ สคส.

สคส. ส่งเสริมการจัดการความรู้ "ส่วนใหญ่" โดยใช้แบบจำลองที่เรียกว่า "โมเดลปลาทู"

  • KV = Knowledge Vision
  • M = Mind
  • 3S = Share,Show,Support
  • K = Knowledge
  • L = Learn
  • KA = Knowledge Asset
  • 4 = 4 กลุ่มงาน
  • 8 = 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
  • 4 = 4 ช่วงชั้น
  • ตัวอย่าง KM
  • Ø ร่วมกันคิด
  • Ø กำหนดให้สมาชิกเตรียมเรื่องเล่า
  • Ø จัดกลุ่มให้เล่าเรื่อง
  • Ø ได้ขุมความรู้
  • Ø สังเคราะห์เป็นแก่นความรู้
  • Ø ประเมินตนเอง
  • Ø จับคู่แลกเปลี่ยนเรียนรู้
  • Ø นำไปปฎิบัติ
  • Ø จัดเวที AAR

4.การนำความรู้ไปใช้

  • จากการอบรมเรื่ององค์กรแห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล 4 ( เพาะชำ) ได้จัดการความรู้โดยใช้โมเดล ปลาทู มาจัดการความรู้ ทำให้นักเรียนของโรงเรียนมีผลงานและผลสัมฤทิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้นและได้รับรางวัลที่เป็นผลงานของนักเรียนมากขึ้น โดยโมเดลของปลาทู มีดังนี้

ส่วนที่ 1 ส่วนหัว เรียกว่า "KV" (Knowledge Vision)

ส่วนที่เป็นวิสัยทัศน์ หรือเป็นทิศทางของการจัดการความรู้

ส่วนที่ 2 ส่วนตัว เรียกว่า "KS" (Knowledge Sharing)

ซึ่งเป็นส่วนของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Share and Learn) ซึ่งถือว่าเป็นส่วนที่ยากลำบากที่สุดในกระบวนการทำ KM

ส่วนที่ 3 ส่วนหางปลา เรียกว่า "KA" (Knowledge Assets)

ตัวเนื้อความรู้ที่เก็บสะสมไว้เป็น "คลังความรู้" หรือ "ขุมความรู้"

  • ในทั้ง 3 ส่วนนี้ต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่องโดยครูและผู้อำนวยการโรงเรียนต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน และนำปัญหาที่เกิดขึ้นมาแก้ไขปัญหา พร้อมกับแลกเปลี่ยนเกร็ดความรู้ในการสอนหรือปัญหาที่พบเห็นและวิธีการในการแก้ไขปัญหาที่ประสบความสำเร็จมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันจึงจะสามารถพัฒนาองค์กรอย่างยั่งยืน

5. บรรยากาศของการศึกษาดูงาน

  • ท่านผู้อำนวยการโรงเรียน และเจ้าหน้าที่โรงเรียนเทศบาล 4 (เพาะชำ) ให้การต้อนรับคณะนักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน รุ่นที่ 13 แบบเป็นกันเองและดูแล อาจารย์ และ คณะนักศึกษาปริญญาเป็นดีเยี่ยม โดยมีอาหารว่าง และบริการน้ำดื่ม พร้อมกับให้คำแนะในการบริการด้านสถานที่ของโรงเรียนทำให้รู้สึกประทับใจในการอบรมเป็นอย่างยิ่ง สถานที่ในการอบรมนั้นอุปกรณ์อำนวยความสะดวกพร้อม และทันสมัย มีระบบเสียงที่ชัดเจน อากาศเย็นสบาย แสงภายในห้องที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้ ร่วมทั้งถาม-ตอบในประเด็นที่นักษายังไม่ชัดเจน พร้อมกับอธิบายให้นักศึกษาเข้าใจชัดเจนซึ่งเป็นประโยชน์ในการนำไปปรับใช้กับองค์หรือโรงเรียนของนักศึกษาเองได้เป็นอย่างดี

6.ความรู้สึกที่มีต่อวิทยากร

นายศักดิ์เดช กองสูงเนิน (ผู้อำนวยการโรงเรียนเทศบาล 4 เพาะชำ) เป็นผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลและรู้จักการบริหารจัดการความรู้ขององค์อย่างมีระบบและประสิทธิภาพจนสามารถประสบความสำเร็จ พร้อมกับสามารถถ่ายทอดความรู้ที่มีภายในองค์กรสู่ภายนอกองค์กรให้กับนักศึกษาและผู้ที่สนใจอย่างเป็นระบบรูปแบบที่ชัดเจน พร้อมกับเปิดโอกาสให้ผู้ฟังได้ถาม-ตอบ ในประเด็นที่สงสัย จึงถือว่าเป็นประโยชน์อย่างมากในการที่จะนำไปปรับใช้กับองค์หรือโรงเรียนที่ต้องการในการจัดการความรู้ได้อย่างดีเยี่ยม

7.ความรู้สึกที่มีต่อเพื่อน

เพื่อนนักศึกษามีคามสนใจในการเรียนรู้ และกล้าซักถามในประเด็นที่ตนเองสงสัย ละมีความใฝ่รู้ในการอบรมพร้อมกับจดบันทึกตลอดเวลาในการอบรม พร้อมกับยกตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษาในการถาม-ตอบ และเพื่อนนักศึกทุกคนแต่งกายสุภาพเรียบร้อย สุดท้ายคณะอาจารย์และนักศึกษาได้มอบของที่ระลึกให้แก่วิทยาการเป็นการขอบคุณในการอบรมในครั้งนี้

หมายเลขบันทึก: 580070เขียนเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2014 17:54 น. ()แก้ไขเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2014 17:54 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท