บทสาขาที่ 5.4 เรื่อง ภาษาทำนองสำเนียงเสียงของฮิบรูชน English accent sound like Hebrew nation 2


ที่แปลกก็คือ ทำไม mode song ของ Hebrew นี้มาอยู่ที่ บาหลี -อินโดเนเชียนได้ เพียงแค่เรียงระดับเสียงเรียงร้อยใหม่ น่าสนใจจัง. น่าสนใจจัง.

ารที่ได้ศึกษาบทความจากท่านอานนท์ เพ็ญพันธุ์เรื่อง ประวัติ Jews เขียนโดยตำราจากคัมภีร์ใบเบิ้ล พวกHebrew เป็นชาวผิวขาวเป็นกลุ่มสาขาหนึ่งของกลุ่ม Semitic ร่อนเร่อยู่ในทะเลทราย Arabia เคยเข้าไปอยู่ทางตอนใต้ของฝั่งแม่น้ำ UFRETISS ระยะเกิดความแห้งแล้งเลยย้ายเข้าไปอยู่ในดินแดนเป็นเคว้นชื่อ Palestine แพล็สไทนซึ่งมีชนพวก Palestine ปาเลสไตล์ เป็นสมาชิกของกลุ่มSemitic ประมาณ 1400 ปีก่อนคริสตกาลอยู่ก่อน และHebrew อีกกลุ่มหนึ่งเข้าไปอยู่ในEgypt

แต่เดิมนั้นเป็นดินแดนของกลุ่มผู้เจริญชน ดินแดนนั้นเรียกว่า คันนาอัน Canaan เป็นชนเผ่า แคนันไนท์ Canaanites ตั้งถิ่นสถานอยู่ก่อนแล้วประมาณ 1500 ปีก่อนคริสตกาล และCanaanites ก็เป็นสมาชิกของกลุ่มSemitic เช่นกัน และให้กลุ่มผู้เร่ร่อนอาศัยอยู่นอกกำแพงเมืองขนานนามว่า Hebrew เมื่ออาศัยอยู่นานขึ้นได้เริ่มใช้ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาว Canaanites จนเข้าปะปนดำเนินชีวิตร่วมเป็นไปตามปกติ ส่วนที่ร่อนเร่ลงทางใต้ก็ยังใช้วิถีชีวิตแบบเดิมๆ

ผู้ดำเนินรายการจับความสืบค้นไม่ได้เพราะไม่เคยได้ยิน Hebrew ในสมัยกลุ่มชนของอับราฮัมได้ข้ามปากแม่น้ำ UFRETISS มาถึงมาทางฝั่งซ้ายมือเมื่อหันหลังให้ทางทิศเหนือโดยประมาณได้ถูกเรียกขานว่าHebrew อันเป็นจุดกำเนิดของชนชาติ หรือรุ่นยาโคป และหรือก่อน 1400 – 1500 ปี ก่อนคริสตกาล พอมีหลักฐานบ้างเมื่อฟังภาษาและเสียงชาว อิสราเอลปัจจุบันใน you tube เกี่ยวกับเรื่อง Hebrewclassical ethnomusicology และย้อนหลังลงไปจนถึงในบทสวดใบเบิ้ลทั้งสองฝ่ายที่ได้ยินจากรายการพิธี ด้วยวิธีจับเสียงควบที่ไปกับสระพะยันชนะ แค่เพียงช่วงห่างระหว่างเสียงกับเสียงก็รู้ได้ถึงความมีดนตรีอยู่ในเผ่าพันธุ์ ethnomusicology song แต่ถ้าจับความพะยันชนะเสียงได้ถึง 3 เสียงนั้นหมายถึงรู้การเรียงร้อยในประเพณีกาลชัดขึ้นจะสังเกตได้ว่าใบเบิ้ลเล่มชุดหนึ่งได้เดินสายเข้าไปในคริสตจักรชนและใบเบิ้ลอีกเล่มชุดหนึ่งได้เดินสายเข้าไปในอิสลามชนในขณะเดียวกันโจทย์ในบทความนี้ให้เข้าสืบค้นในมุสลิมชน(กรุณาค้นหาความรู้เพิ่มเติมจากคัมภีร์อัลกรุอ่านเฉพาะทำนองเสียงของภาษา)

ขอขอบคุณยิ่งที่ได้ศึกษาบทความจาก คุณแจ้สน้อยๆ และได้ศึกษาบทความจากท่านอานนท์ เพ็ญพันธุ์มาประกอบต่อการสืบค้นภาษาเสียงสำเนียงกวีของคำว่า ฮิบรูต่อไปHebrew of melody song

หมายเลขบันทึก: 579231เขียนเมื่อ 25 ตุลาคม 2014 09:21 น. ()แก้ไขเมื่อ 8 พฤศจิกายน 2014 10:12 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท