งานวิชาการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้


งานวิชาการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้

บันทึกอนุทิน7 September 2557 การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้รหัสวิชา 102611 ผู้สอนผู้ช่วยศาตราอารย์ ดร. อดิสรเนาวนนท์ โดยMissxiaomin Li รหัสนักศึกษา 57D0103101ระดับปริญญาโท ภาคพิเศษสาขาหลักสูตรและการสอน

https://www.gotoknow.org/dashboard/home#/journal_entries

https://www.gotoknow.org/dashboard/home#/posts/578696

https://www.gotoknow.org/dashboard/home#/posts/578695

https://www.gotoknow.org/dashboard/home#/posts/578137

https://www.gotoknow.org/dashboard/home#/posts/578135

https://www.gotoknow.org/dashboard/home#/posts/578089

https://www.gotoknow.org/dashboard/home#/posts/576456

https://www.gotoknow.org/dashboard/home#/posts/576457

https://cdn.gotoknow.org/assets/media/files/001/045/953/original_AAR.pdf?1410108356

อนุทิน ครั้งที่ 4 Knowledge Management (KM)

เนื้อหาที่ได้เรียนวันนี้เกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศซึ่งหมายถึง การทำงานพร้อมกันอย่างที่สัมพันธ์กันของแต่ละองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการนำข้อมูลเข้าจัดเก็บ รวบรวม และประมวลผลข้อมูล จนกลายเป็นสารสนเทศที่สามารถนำไปใช้ประกอบการตัดสินใจ หรือใช้ประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งอาจจะเป็นระดับบุคคลหรือองค์กร

KM (Knowledge Management) หมายถึงความหมายที่จับต้องได้และจับต้องไม่ได้ เป็นความรู้ที่เกิดจากการสั่งสมหรือการปฏิบัติ โดยทุกคนมีความรู้เป็นของตนเอง ความรู้นั้นมีความหมายหรือไม่ขึ้นอยู่กับการตีความ และการจัดการความรู้เพื่อให้เกิดความรู้ใหม่ส่วนการจัดการกับความรู้โดยเรียงลำดับจากข้อมูล (Data) -- สารสนเทศ (Information) -- ความรู้ (Knowledge) -- ปัญญา (Wisdom) การรับรู้ข้อมูลนั้นเป็นความเข้าใจถึงความสัมพันธ์ และจากสารสนเทศไปถึงความรู้นั้นเป็นความเข้าใจรูปของความสัมพันธ์ และจากความรู้ไปสู่ปัญญานั้นเป็นความเข้าใจของหลักการ

ประเภทของความรู้จะมีแบบ Tacit Knowledge เป็นความรู้ที่มองเห็นโดยนัยมองเห็นไม่ชัดเจน ความรู้ที่ไม่เป็นทางการ เป็นทักษะหรือความรู้เฉพาะตัว ส่วนExplicit Knowledge เป็นความรู้ที่ชัดแจ้งเป็นทางการ เป็นลายลักษณ์อักษร เช่นหนังสือพิมพ์ หรือวารสาร หรือเป็นการแสดงออกมาเป็นสัญลักษณ์

กระบวนการจัดการความรู้1. การกำหนดเป้าหมายความรู้ (Knowledge Desired)2. หารสร้างหรือจัดหาความรู้ (Knowledge Creation หรือ Knowledge Acquisition)3. การกลั่นกรองและคัดเลือกความรู้ (Knowledge Classified)4. การเก็บความรู้ให้ระบบ (Knowledge Saving System)5. การใช้ความรู้ (Knowledge Utilization)6. การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing)7. การประยุกต์ความรู้ (Knowledge Applied)8. การประมวลผลและวัดความรู้ (Knowledge Codification & Knowledge Measured)9. การยกย่องชมเชยและให้รางวัล (To praise & Take a gift)10. การเผยแพร่ความรู้ (Knowledge Distribution)

รูปแบบของเทคโนโลยีสารสนเทศกับกระบวนการเรียนรู้

1.เพื่อการรวบรวมและการจัดการเรียนรู้ที่ปรากฏ

2.ใช้ในการสร้างความรู้

3.เพื่อการเข้าถึงความรู้ที่ปรากฏ

4.เพื่อการประยุกต์ใช้ความรู้

5.เพื่อสนับสนุนการจัดการความรู้โดยนัย

ความสำคัญของการจัดการความรู้1. เป็น ปัจจัยหลักของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องการพัฒนาความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ซึ่งเป็นพลังขับเคลื่อนของการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและการจ้างงานในระยะ ยาว2. ประชาชนเข้าถึงความรู้ได้มากขึ้นและเป็นการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ซึ่งนำไปสู่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้

ประโยชน์ของการจัดการความรู้1. ป้องกันการสูญหายของความรู้2. เพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจ3. ความสามารถในการปรับตัว และมีความยืดหยุ่น4. ความได้เปรียบในการแข่งขัน5. องค์กรในการใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญาที่มีอยู่6. การยกระดับผลิตภัณฑ์7. สร้างความพึงพอใจและเพิ่มยอดขายและสร้างรายได้8. เพิ่มความสามารถการแข่งขันโดยผ่านการเรียนรู้ร่วมกัน

ความแตกต่างระหว่าง Intranet กับ Internet คือ Intranet ใช้กระจายความรู้ที่ใช้เฉพาะองค์กร ส่วน Internet ใช้เพื่อการกระจายความรู้โดยรอบ

ความคิดเห็นอื่นๆ

อาจารย์สอนเร็วค่ะ ในเนื้อหาบางส่วนนั้นจึงตามไม่ค่อยทัน แต่อาจารย์สอนสนุกมากเพราะอาจารย์โทนเสียงที่แตกต่างกันทำให้มีความตื่นเต้นและน่าติดตามฟังไม่น่าเบื่อ และอาจารย์มีการสอนที่เชื่อมโยงเนื้อหาระหว่างเรื่องภายนอกและในเนื้อหาได้ดีทีเดียวทำให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการเรียนสนุกมากๆค่ะ

=====================================================================================


AAR เรื่อง การจัดการเรียนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (รศ.ดร.ประพันธ์ศิริสุเสารัจ )

ความรู้ที่ได้รับ

ตัวชี้วัดการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

1.ครูเตรียมการสอน

2.ครูวิเคราะห์ผู้เรียนแล้วออกแบบการเรียนรู้ตามความแตกของนักเรียน

3.ครูใช้วิธีการสอนที่หลาหลายสอดคล้องกับนักเรียน

4.ผู้เรียนประสบความสำเร็จในการเรียนรู้ตามแนวทางและวิธีที่ตนถนัด

5.ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวกการเรียนรู้มากที่สุด

6.ผู้เรียนกับผู้เรียน และผู้สอนมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน

7.ผู้เรียนสามารถค้นพบละสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง

8.ผู้เรียนได้แสดงออก ได้ลงมือทำกิจกรรมและสร้างผลงาน

9.ครูเมตตาและเอาใจใส่ต่อผู้เรียน

10.ครูจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นการเรียนรู้ใช้สื่อการสอน แหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย

11.ผู้เรียนมีความสุขในการเรียน

การเรียนรู้อย่างมีความสุข

1.ผู้เรียนทุกคนได้รับการยอมรับและ ยกย่องว่ามีความสามารถ มีสติปัญญา มีคุณค่าเท่าเทียมกัน

2.ผู้เรียนประสบความสำเร็จในการเรียนตามศักยภาพ

3.ครูเข้าใจปัญหา ให้ความเมตตา ยุตธรรมและอ่อนโยน

4.ผู้เรียนมีความรัก ความภูมิใจในตังเอง รู้สึกว่าตนเองประสบความสำเร็จและมีค่า

5.ผู้เรียนมีโอกาสได้ทำสิ่งที่ตนเองชอบ ไม่รู้สึกว่าถูกบังคับ

6.การสอนสนุก บทเรียนแปลกใหม่ เร้าใจ บรรยากาศห้องเรียนมีชีวิตชวาสิ่งที่ครูต้องรู้การจัดการเรียนรู้ในโลกยุคใหม่ The Brain New world สมองกับความคิดของนักเรียน

1.เรียนรู้ความแตกต่างของสมอง เมื่อรู้ว่านักเรียนเป็นกลุ่มสมองใดแล้วออกแบบการสอนให้ตามความต้องการของ นักเรียน ในห้องเรียนทำอย่างไรจะให้นักเรียนได้รับความรู้เท่ากัน เรามาดูโครงสร้างของสมองโดยทั่วไปครูสามารถรู้ว่านักเรียนสมองซิกไหนดีกว่า จากวิธี ให้นักเรียนมองจุดที่ครูให้โดยผ่านช่องว่างของแล้วเปิดตาซ้าย แล้วตาขาว ครูจะรู้ได้ว่านักเรียนชอบเรียนรู้โดยแบบไหน วิธีการทดสอบง่ายทีเดียว

ให้นักเรียนเอามือทำ เป็นวงกลม แล้วมองวงกลมดานล่าง ผ่านวงกลมของมือ แล้วปิดตาขาว แล้วเปลี่ยนตาซ้าย ถ้าปิดซ้ายตาขาวยังเห็นวงกลมหมายถึงว่าคุณใช้ สมองซ้าย ถ้าปิดขาวตาซ้ายยังเห็นวงกลมหมายถึงว่าคุณใช้สมองขาว

2.ความแตกต่างการทำงานสมอง ซ้าย ขาว

จากกานเข้าอบรมครั้งนี้ทำให้มีความเข้าใจวิธีในการจักการเรียนการสอนมาก ขึ้น และเข้าใจรูปแบบการสอน 4 MAT เข้าใจรูปในการจัดการเรียนการสอนที่ดีครูจะต้องพัฒนาความรู้อยู่เสมอ เอาใจใส่นักเรียน เห็นใจนักเรียนเมตตากรุณา ต่อนักเรียน ให้กำลังใจกับนักเรียน ไม่ควรคัดสินนักเรียนโดย ภายนอน ให้คำชมเชียแก่นักเรียน นักเรียนมีความ สามารถไม่เท่ากัน ทุนคนมีทั้งด้านดีกับไม่ดี ครูต้องเห็นคุณค่าในตัวนักเรียนมากกว่าการใช้คะแนนในการประเมินนักเรียน ควรมีวิธีในการประเมิน ที่หลากหลายวันนี่ได้รับความรู้และประสบการณ์และคิดว่าจะนำไปพัฒนาการสอนของ ในวิชีที่สอน การสอนแบบ 4 MAT เป็นรูปแบบการสอนที่ดีและนักเรียนได้เก็ดการเรียนรู้ จริง อาจารย์ได้แน่นำ รูปแบบการจัดการเรียนการสอน หมวก 6ใบ ด้วย

การนำไปประยุกต์ใช้

กิจกรรมที่อาจารย์พาทำคือ 4 MAT อาจารย์ให้ทุกคนเขียนแผนการสอนแบบ 4 MAT ก่องที่จะลงมือทำอาจารย์ทำตังอย่างให้ดูก่อง

บรรยากาศในการเข้าร่วมกิจกรรม

บรรยากาศ ในการอบรมสนุกมาก กิจกรรมกลุ่มก็สนุก เพื่อนๆ ช่วยกันดีมาก ทุกคนตั้งใจทำงานที่อ่จราย์ให้ช่วยๆกัน แลกเปลี่ยนกันเรียนรู้ รักทุกคน

**********************************************************************************************************************************8******


AAR เรื่อง การจัดการเรียนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (รศ.ดร.ประพันธ์ศิริสุเสารัจ )

ความรู้ที่ได้รับ

ตัวชี้วัดการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

1.ครูเตรียมการสอน

2.ครูวิเคราะห์ผู้เรียนแล้วออกแบบการเรียนรู้ตามความแตกของนักเรียน

3.ครูใช้วิธีการสอนที่หลาหลายสอดคล้องกับนักเรียน

4.ผู้เรียนประสบความสำเร็จในการเรียนรู้ตามแนวทางและวิธีที่ตนถนัด

5.ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวกการเรียนรู้มากที่สุด

6.ผู้เรียนกับผู้เรียน และผู้สอนมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน

7.ผู้เรียนสามารถค้นพบละสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง

8.ผู้เรียนได้แสดงออก ได้ลงมือทำกิจกรรมและสร้างผลงาน

9.ครูเมตตาและเอาใจใส่ต่อผู้เรียน

10.ครูจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นการเรียนรู้ใช้สื่อการสอน แหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย

11.ผู้เรียนมีความสุขในการเรียน

การเรียนรู้อย่างมีความสุข

1.ผู้เรียนทุกคนได้รับการยอมรับและ ยกย่องว่ามีความสามารถ มีสติปัญญา มีคุณค่าเท่าเทียมกัน

2.ผู้เรียนประสบความสำเร็จในการเรียนตามศักยภาพ

3.ครูเข้าใจปัญหา ให้ความเมตตา ยุตธรรมและอ่อนโยน

4.ผู้เรียนมีความรัก ความภูมิใจในตังเอง รู้สึกว่าตนเองประสบความสำเร็จและมีค่า

5.ผู้เรียนมีโอกาสได้ทำสิ่งที่ตนเองชอบ ไม่รู้สึกว่าถูกบังคับ

6.การสอนสนุก บทเรียนแปลกใหม่ เร้าใจ บรรยากาศห้องเรียนมีชีวิตชวา

สิ่งที่ครูต้องรู้การจัดการเรียนรู้ในโลกยุคใหม่ The Brain New world

สมองกับความคิดของนักเรียน

1.เรียนรู้ความแตกต่างของสมอง เมื่อรู้ว่านักเรียนเป็นกลุ่มสมองใดแล้วออกแบบการสอนให้ตามความต้องการของ นักเรียน ในห้องเรียนทำอย่างไรจะให้นักเรียนได้รับความรู้เท่ากัน เรามาดูโครงสร้างของสมองโดยทั่วไปครูสามารถรู้ว่านักเรียนสมองซิกไหนดีกว่า จากวิธี ให้นักเรียนมองจุดที่ครูให้โดยผ่านช่องว่างของแล้วเปิดตาซ้าย แล้วตาขาว ครูจะรู้ได้ว่านักเรียนชอบเรียนรู้โดยแบบไหน วิธีการทดสอบง่ายทีเดียว

ให้นักเรียนเอามือทำ เป็นวงกลม แล้วมองวงกลมดานล่าง ผ่านวงกลมของมือ แล้วปิดตาขาว แล้วเปลี่ยนตาซ้าย ถ้าปิดซ้ายตาขาวยังเห็นวงกลมหมายถึงว่าคุณใช้ สมองซ้าย ถ้าปิดขาวตาซ้ายยังเห็นวงกลมหมายถึงว่าคุณใช้สมองขาว

2.ความแตกต่างการทำงานสมอง ซ้าย ขาว

จากกานเข้าอบรมครั้งนี้ทำให้มีความเข้าใจวิธีในการจักการเรียนการสอนมาก ขึ้น และเข้าใจรูปแบบการสอน 4 MAT เข้าใจรูปในการจัดการเรียนการสอนที่ดีครูจะต้องพัฒนาความรู้อยู่เสมอ เอาใจใส่นักเรียน เห็นใจนักเรียนเมตตากรุณา ต่อนักเรียน ให้กำลังใจกับนักเรียน ไม่ควรคัดสินนักเรียนโดย ภายนอน ให้คำชมเชียแก่นักเรียน นักเรียนมีความ สามารถไม่เท่ากัน ทุนคนมีทั้งด้านดีกับไม่ดี ครูต้องเห็นคุณค่าในตัวนักเรียนมากกว่าการใช้คะแนนในการประเมินนักเรียน ควรมีวิธีในการประเมิน ที่หลากหลายวันนี่ได้รับความรู้และประสบการณ์และคิดว่าจะนำไปพัฒนาการสอนของ ในวิชีที่สอน การสอนแบบ 4 MAT เป็นรูปแบบการสอนที่ดีและนักเรียนได้เก็ดการเรียนรู้ จริง อาจารย์ได้แน่นำ รูปแบบการจัดการเรียนการสอน หมวก 6ใบ ด้วย

การนำไปประยุกต์ใช้

กิจกรรมที่อาจารย์พาทำคือ 4 MATอาจารย์ให้ทุกคนเขียนแผนการสอนแบบ 4 MATก่องที่จะลงมือทำอาจารย์ทำตังอย่างให้ดูก่อง

หมายเลขบันทึก: 578949เขียนเมื่อ 18 ตุลาคม 2014 13:45 น. ()แก้ไขเมื่อ 18 ตุลาคม 2014 13:45 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท