เบญจศีล ( panca sila)


The five precepts

( panca sila)

There are three fundamental modes of training in Buddhist practice; morality, concentration, and wisdom. The English word morality is used to translate into the Pali term sila, although the Buddhist term contains its own particular connotations. The word sila, denotes of normalcy, a condition which is basically unqualified and unadulterated. When one practices sila, one returns to one’s own basic goodness, the original state of normalcy, unperturbed and unmodified. Killing a human being, for instance, is not basically human nature; if it were, human beings would have ceased to exist a long time ago, A person commits an act of killing because he or she is blinded by greed, rage or hatred. Such negative qualities as anger, hatred, greed, ill will, and jealousy are factors that alter people’s nature and make them into something other than their true self. To practice sila,is thus to train in preserving one’s true nature, not allowing it to be modified or overpowered by negative forces.

The five precepts (Panca Sila) are also recited in Pali, and their meaning are generally known to most Buddhists. In the following, the original pali text is given in italics, and the corresponding English translation is given side by side;

  • 1.Panatipata veramani sikkhapadam samadiyami.
  • I observe the precept of abstaining from killing
  • 2.Adinnadana veramani sikkhapadam samadiyami.
  • I observe the precept of abstaining from stealing.
  • 3.Kamesu micchacara veramani sikkhapadam samadiyami.
  • I observe the piecept of abstaining from sexual misconduct.
  • 4.Musavada veramani sikkhapadam samadiyami.
  • I observe the precept of abstaining from false speech.
  • 5.Suramerayamajjapamadatthana veramani sikkhapadam samadiyami.
  • I observe the piecept of abstaining from taking intoxicants causing heedlessness.
  • ความหมาย
  • คำว่า “ศีล”ตามหลักปฏิบัติของชาวพุทธ มีวิธีฝึกอบรมขั้นพื้นฐาน 3 ประการ ได้แก่ ศีล (Morality) สมาธิ (Concentration) และปัญญา (Wisdom) คำว่าศีลในภาษาอังกฤษ ถูกใช้แปลคำว่า ศีล ที่เป็นภาษาบาลีอยู่เสมอ แม้ว่าคำว่าศีลชาวพุทธ ประกอบด้วยคำอธิบายขยายความที่เป็นลักษณะเฉพาะคน คำว่า ศีล หมายถึง สภาวะที่เป็นปกติไม่ถูกรบกวน ตัวอย่างเช่น การฆ่ามนุษย์ มิใช่เป็นธรรมชาติที่แท้จริงของมนุษย์ ถ้าไม่มีการฆ่ากันมนุษย์ชาติ อาจทำให้ลดการเกิดภพชาติมาเป็นเวลานานแล้ว ส่วนบุคคลที่ทำการฆ่าเป็นเพราะเขาหรือเธอ ล้วนมืดบอดด้วยโลภะ โมหะ และโทสะ คุณสมบัติทางลบเช่นนั้นเกิดจากความอยาก ความเกลียด และความโลภความปรารถนาลามก และจากความอิจฉาริษยา ซึ่งเป็นปัจจัย ให้ธรรมชาติของมนุษย์กระทำบ้างสิ่งบ้างอย่างซึ่งนอกเหนือจากตัวตนที่แท้จริง การปฏิบัติตามศีลเช่นนั้นก็เพื่อฝึกอบรมให้รู้จักรักษาธรรมชาติที่แท้จริงของมนุษย์ไว้ ไม่ยอมให้ถูกจำกัดหรือถูกครอบคลุมไว้ด้วยพลังทางลบ
    เบ็ญจศีล ยังไม่ถูกอ้างถึงในภาษบาลี และมีความหมายทั่วไป ที่รู้จักกันดีในหมู่ชาวพุทธส่วนมาก ในการปฏิบัติตามคัมภีร์บาลีดั้งเดิมซึ่งเขียนไว้เป็นคำเองและสอดคล้องกับคำแปลเป็นภาษาอังกฤษซึ่งแปลไว้ข้อต่อข้อ คือ
    1.ปานาติปาตา เวรมณีสิกขาปทัมสมาธิยามิ ข้าพเจ้าสมาทานงดเว้นการฆ่าสัตว์
    2.อทินนนาทานา เวรมณีสิกขาปทัมสมาธิยามิ ข้าพเจ้าสมาทานงดเว้นจากการขโมยสิ่งของผู้อื่น
    3.กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณีสิกขาปทัมสมาธิยามิ ข้าพเจ้าสมาทานงดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
    4.มุสาวาทา เวรมณีสิกขาปทัมสมาธิยามิ ข้าพเจ้าสมาทานงดเว้นจากการพูดเท็จ
    5.สุราเมรัยะมัชชะปมาทัฎฐาน เวรมณีสิกขาปทัมสมาธิยามิ ข้าพเจ้าสมาทานงดเว้นจากการดื่มน้ำดองของเมาอันเป็นที่แห่งความประมาณ
คำสำคัญ (Tags): #“ศีล”
หมายเลขบันทึก: 573914เขียนเมื่อ 5 สิงหาคม 2014 18:53 น. ()แก้ไขเมื่อ 5 สิงหาคม 2014 19:16 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท