บทสาขาที่ 5.1 เรื่อง จุดกำเนิดส่วนดนตรีแห่งโลกมุสลิมเข้าสู่สมัยต้นรัตนโกสินทร์ (1)


จุดกำเนิดส่วนดนตรีแห่งโลกมุสลิมเข้าสู่สมัยต้นรัตนโกสินทร์

เรื่อง ดนตรีไทยมุสลิม วัฒนธรรมดนตรีไทยภาคกลาง

สาเหตุของปัญหา ..ทำไมถึงมีเพลงแขกต่อยหม้อ..แขกเชิญเจ้าในหนังสือนิทราชาคริตพระราชนิพนธ์ของสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว(ร.6)ในตับเพลงเรื่องอบูฮะซันตอนแต่งงานกับนางนอร์สเตอล..ทำนองเพลงทยอยท่อนที่ 3 ของแขกโอด..ยุหงิด-ตะเขื่องรำดาวดึงส์..ฯ

ผู้ดำเนินการขออภัย และขอกล่าวก่อนว่า รายงานฉบับนี้มุ่งศึกษาวัฒนธรรมดนตรีเฉพาะชนมุสลิมด้านเดียว โดยเริ่มจากดินแดนที่ชื่อว่า Mesopotamian ตามรูปศัพท์ให้ความหมายว่า พื้นดินอยู่ในระหว่างแม่น้ำ มีนัยหมายถึงดินแดนซึ่งอยู่ระหว่างแม่น้ำ Ufretiz กับแม่น้ำ Taigreez ดินแดนดังกล่าวนี้มีรูปลักษณะเป็นพระจันทร์เสี้ยวและมีดาวประดับบนฟ้าประจำพื้นดินนี้คนไทยเรียกว่าดาวเหนือหรือดาวศุกร์ เป็นสัญญาลักษณะแห่งความดีงาม ชี้ทิศการเดินทางและเป็นสัญลักษณ์แห่งเทพ Venus ด้านความสวย ความดี และความงามของชนกลุ่มหนึ่งในยุคนั้นและชนอีกกลุ่มหนึ่งยึดถือว่า พระเจ้าผู้ให้ความสว่างทางปัญญา

ความสมบูรณ์ของแม่น้ำทั้งสองสายได้ชวนให้กลุ่มชนต่างๆ เข้ามาดำเนินการดำรงชีวิตในถิ่นนี้แต่มีอากาศร้อนแต่อาศัยความเย็นได้จากแม่น้ำสองสายนี้ด้วยธรรมชาติ เมื่อต้นน้ำเป็นหิมะไหลเข้าสู่เขตอากาศร้อนในบริเวณพื้นที่ น้ำได้ลดสภาพความเย็นลง อากาศร้อนบั่นทอนกำลังผู้ที่กำลังอยู่อาศัย ชนกลุ่มอื่นเห็นแก่ประโยชน์อย่างเดียวได้เข้ามารุกรานเป็นอย่างนี้สลับกันไปอย่างต่อเนื่อง ส่วนใหญ่จะมาจากแถบแถวที่ราบสูงทางด้านเหนือและด้านตะวันออกจากทะเลทราย Syria and  Arabia จึงมีวัฒนธรรมร่วมหลากหลายแต่ไม่ได้สืบต่ออย่างยาวนานเหมือนวัฒนธรรม Egypt

ผู้ดำเนินการได้สืบค้นวัฒนธรรมโบราญนี้แถบทางด้านภูมิศาสตร์ของMesopotamia ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำUfretiz กับแม่น้ำ Taigreez ปัจจุบันอยู่ในเขตของประเทศ ERAG มีกรุง Baghdad เป็นเมืองหลวงต้นแม่น้ำทั้งสองสายอยู่ในประเทศ Armenia and ASEA Minor ไหลลงที่อ่าว PERCHIA

ตอนล่างบริเวณที่ราบลุ่มของแม่น้ำทั้งสองสายนี้เรียกว่า BABILONIA (เขตอุดมสมบูรณ์)เขตติดต่อกับอ่าว PERCHIA สมัยหนึ่งเรียกว่า CHINRAH กับส่วนบนเรียกว่า ASSIRIA (เขตค่อนข้างแห้งแล้ง)Mesopotamia ทิศเหนือจรดคาบสมุทร ABBIAล้อมรอบด้วยทะเลแดงแลคาบสมุทรอินเดีย ทิศตะวันออกจรดที่ราบสูงอิหร่าน ทิศตะวันตกจรดที่ราบซีเรียกับปาเลสไตน์ บริเวณทั้งหมดมีหลายเชื้อชาติเผ่าพันธุ์ นักประวัติศาสตร์บางท่านกล่าวว่า ไม่มีที่ใดที่มีชาติพันธุ์ผสมปนกันมากมายเหมือนที่นี่โดยเริ่มจาก 36 ชนเผ่าขึ้นไป

ดำเนินการสืบค้น

จากการที่ผู้ดำเนินการสืบค้นติดตามบริเวณภูมิแผนข้างต้นดังกล่าว ของแต่ละประเทศในดนตรีโลกมุสลิมแล้ว ดังมีแนวดนตรีเกี่ยวกับศาสนาซึ่งใช้คำว่าดนตรีอิสลาม ใช้ในการขับร้องพร้อมดนตรีแสดงต่อหน้าสาธารณะชน มุงมั่นศรัทธาอุทิศเป็นการส่วนตัวจากดินแดนใจกลางอิสลามในตะวันออกกลางและ เอเชียซึ่งรวมทั้งอิหร่าน และ แอฟริกาเหนือ  ด้วยเหตุที่มีหลายชาติพันธุ์ ดนตรีออกได้หลายแนวแบบ การก่อแนวดนตรีเพื่อการอุทิศถวายยกแยกไว้เป็นดนตรีอิสลาม ส่วนดนตรีที่ให้ความสำราญย่อมมีไว้กับชนมุสลิมเหมือนกับชนชาติที่มีดนตรีไว้เพื่อศาสนาและให้ความสำราญหลังจากเสร็จพิธีกรรมแล้วเช่นกัน

ผู้ดำเนินการสืบค้นเข้าสู่ทางตันโดยเริ่มจาก

IRAN ได้รับวัฒนธรรมด้นดนตรีจากอเมริกาอย่างเต็มที่ สังเกตจากศิลปินดนตรีจากอิหร่านที่มีฝีมือดี ได้เข้าศึกษาและประกอบอาชีพในอเมริกาเป็นส่วนมาก เพราะคิดกันว่าเป็น ศรีวิไล เมื่อกลับมายังประเทศของตนก็ได้นำวิชาความรู้ว่าทันสมัยมาใช้ในประเทศของตนและนำมาประยุกต์กับดนตรีสุเมเรียนที่ควรอนุรักษ์รักษาไว้ จนเกือบเข้าขั้นทำลายมรดกของเผ่าชนเดิมไปเผ่า Amenian ยังคงรูปความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

IRAG ได้มีการประยุกต์พัฒนาดนตรีไว้เป็นของIRAG เพลงดนตรีวัฒนธรรมประยุกต์ซึ่งเข้าได้ด้วยกับความสามารถทางบรรเลงและการประเมินค่าทางสุนทรียะเข้าด้วยกัน จากค่านิยมของศิลปินนั้นๆ เป็นการพัฒนาชาติพันธุ์ดนตรี Ethnomusicological approach และอิรักได้ยืนยงในMesopotamia ในเรื่องวัฒนธรรมดนตรีชาว Sumerian จนได้พื้นฐานมรดกรวมเผ่าพันธุ์ไว้ไม่ครบด้านการกอบเก็บรักษาอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานต่ำสุดท้ายเกือบถือครองไว้ได้

LEBANIAN ดนตรีได้เข้าสู่จุดสูงก้าวหน้าประยุกต์พัฒนาถึงกับเป็นตัวของตัวเองได้ เพราะศิลปินที่มีความสามารถและมีในความเป็นสากลอย่างเป็นตัวของตัวเอง โดยนำประยุกต์จากประเทศรอบตัวซึ่งแตกตัวมาจาก SUMALIAN and BAISENTINE เข้าเขต AGENTINA ผ่านเข้าไปแถบแถว SPENISH ด้วยการนำสรรพสรรผสมดนตรีสุเมเรียนสู่ระดับวิกฤตภายใน   Psycho musicology Interaction คือดนตรีว่าด้วยจิตแอบแฝงในลีลายั่วยุให้เกิดอุบัติทางอารมณ์แห่งความคิดเครียด TENSION เร้ากระบวนการศักยภาพ ก่อสำแดงพฤติกรรมออกมาจากจิตสำนึก Conscious of mind for behavior and through the out come ไกลออกไปจนถึง scalesแปลกแยกอย่างไม้รู้ตัวว่านั้นคือการร้อยเรียงเสียงแนว ญี่ปุ่น

SAUDI ARABIA เป็นประเทศใหญ่ซึ่งมีภาษาสำเนียงถิ่น ผู้บิหารและผู้นำมุ่งการศาสนา (ทำนองอิสลาม) และมีดนตรีเป็นเสียงสำเนียงชาติ อยู่ตามวัฒนธรรมทาง Classic ลักษณะเพลงมุสลิมแต่ละเพลง มีความยาวเท่ากับเพลงเถาของเพลงดนตรีไทย(ไม่นับเพลงทันตามสมัย) มีสำเนียงการร้อยเรียงเสียงหลุดไปจากต้นแบบดนตรี SUMALIAN and BAISENTINE บางครั้งก็มีการร้อยเรียงเสียงดนตรีสำเนียงระบำหน้าท้องปน ที่ดีก็คือมีดนตรีเป็นของตัวเองคล้ายเพลงประจำแหล่งถิ่นบ้าง เป็นปฏิภาคดนตรีเข้าร่วมกันได้ ส่วนเครื่องมือดนตรีที่ผู้ดำเนินการเห็นก็มีเมื่อคราวได้เล่นร่วมเช่นขิม ซอ ปี่ ขลุ่ย โทนรำมะนาบ่งบอกวรรณะระดับชนชั้นด้วยเพลง ลีลา ระบำ

TURAGY กลุ่มหลายชนเผ่าที่เข้ามานับถือศาสนาอิสลาม ได้ชัยชนะมายังเขตถิ่นนี้และยังฝากอิสลามไว้ด้วยบทคำสวด ทำนองอิสลาม มีนัยลึกลับยำเกรงยังความศรัทธาแห่งพระเจ้าและจากบรรดาพวก Sufis (ประเภทอาจารย์ที่ไม่ได้รับเชิญให้เข้ามาสอนบางประเภทยึดเป็นอาชีพ) เข้าขยายความเพราะมีความประสงค์เชิงการค้า และเริ่มมีดนตรีแนวจีนมุสลิมเข้าไปนิยมครอบครอง (เป็นเผ่าย่อยของ36ชนเผ่าขึ้นไปก่อนที่จะรวมเป็นซึมาเลี้ยน) ส่วนตอนเขตเหนือของประเทศกลับเป็นแนวดนตรี Indo – European กับความถนัดของศิลปินประจำประเทศ

INDIA วัฒนธรรมมุสลิมชนในอินเดีย ได้อาศัยดนตรีอินเดียเริงสำราญบางครั้งบรรเลงเล่นในบ้านเป็นกลุ่มย่อย วัฒนธรรมดนตรีบางอย่างใช้ร่วมกัน แต่มุสลิมยึดหลักแนวศาสนาเป็นสิ่งนำ

  SOUTH ASIA วัฒนธรรมดนตรีมุสลิมแถบนี้ได้แก่ อินเดียตอนเหนือ – อินเดียตอนใต้ คล้ายกับดนตรีภาคเหนือ – ดนตรีภาคใต้ของไทย   Afghanistan – Bangladesh  Nepal  –  Pakistan and Sri Lanka ถึงแม้จะประสานเข้ากับดนตรีตะวันออกกลางผลลัพธ์ที่ออกมายังคงขนาน เพราะความเข้ม Intensive เข้าข้างอินเดียด้วยความยินยอม อย่างไรก็ดีวัฒนธรรมดนตรีมุสลิมยังคงเป็นแนวปฏิภาค

Muslim music of Africa วัฒนธรรมดนตรี Classic จากอเมริกากำหนดให้ดนตรีแถวแถบนี้เป็น Jungle music เพื่อภูมิทัศน์จากการหาประโยชน์แต่ศิลปินในประเทศได้ตกลงใจพัฒนาตน

และก่อนอื่น ก่อนที่จะเข้ามาสืบค้นเพื่อเสริมวัฒนธรรมดนตรีไทยภาคกลาง ยุคต้นรัตนโกสินทร์ ประยุกต์เข้ากับวัฒนธรรมดนตรีในแถบแหล่งพื้นที่ Indo – European – Mesopotamian – SUMALIAN and BAISENTINE

คำสำคัญ (Tags): #การงานการดนตรี
หมายเลขบันทึก: 552904เขียนเมื่อ 8 พฤศจิกายน 2013 15:39 น. ()แก้ไขเมื่อ 14 เมษายน 2014 11:57 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

เมื่อท่านบรรเลงดนตรีในที่สาธารณะ มีผู้ถือเครื่องดนตรีหนึ่งมาใกล้ แล้วเริ่มบรรเลงเช่นกัน

หากมันไม่ถูกต้อง หรือไม่เพราะ ท่านไม่จำเป็นต้องไปทำลายเครื่องดนตรี และเกลียดชังผู้บรรเลวนั้น หากท่าน เป็นผู้กำหนดตนว่ารู้ในดนตรีจริง ท่านควรจะช่วยสอนเขา ร่วมบรรเลงไปด้ววกัน ช่วยเขาปรับปรุงเครื่องดนตรี มิใช่ขาดเมตตา ตามแบบอย่างพระพุทธเจ้าแนะให้ครองธรรมนั้นเสมอ ไปทำ ายเครื่องดนตรีนั้นให้มันสิ้นซาก ไปขจัดทั้งเครื่องดนตรี และ คนบรรเลง ออกไปจากหนทางของท่าน หากท่านออกตัวว่าจำนนต่อปรัชญาของใคร ผู้นั้นนั่นแหละที่เสียหาย ลองดูโน๊ตที่เขียนให้นี้ก่อน แล้วลองบรรเลงในหัวใจท่าน. ก่อนการใช้เพียงสัญชาติญาณตอบโต้ทำลายจิกกัด

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท