บทสาขาที่ 2 เรื่องวัฒนธรรมดนตรีไทยในแหล่งสยาม The musical culture of Siam


สิ่งน้อมนำ

ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว ดนตรีไทย ของเรามรดกคนเก่า รักษ์ไว้_ทำนองนี้คงจะไปกันได้เมื่อกล่าวถึงประวัติมรดกทางวัฒนธรรมดนตรีไทย ผู้ดำเนินการไม่มีความสามารถนำมากล่าวจนหมดสิ้นได้ แต่คิดว่าต้องมีอยู่มากในแผ่นดินไทยอย่างแน่นอน เพราะสังคมไทย ได้สร้างเอกลักษณ์การเป็นดนตรีไทยซึ่งมีการผลิตพัฒนาเครื่องดนตรีทั้งศาสตร์ทฤษฎีไห้ชนรุ่นหลังช่วยเก็บรักษาไว้ตั้งแต่โบราญกาลอย่างคงรูป อาจมีบางอย่างหลุดหายไป เช่นเมื่อยามเกิดสงครามในสมัยอยุธยา อย่างปัญหามรดกไทยโยเดีย ในปัจจุบันถือเป็นมิตรภาพคดีศิลปวัฒนธรรมในอดีตระหว่างประเทศทางสายวัฒนธรรมอย่างแน่นแคว้น

 

วัฒนธรรมดนตรีไทยยังติดตามขบวนความด้านจิตวิทยานิยมสังคมมนุษย์ Popular psychology, human society ชนไทยอยู่ และเพื่อจัดให้มีเอกลักษณะของสายพันธุ์ดนตรีไทย great man มีมาตั้งก่อเกิดแผ่นดินไทยแล้ว เพราะดนตรีตามติดอยู่ในตัวของมนุษย์ชนนั้น เมื่อสังคมจัดให้มีผู้มีแนวแบบ style สายมนุษย์ดนตรี ก็คัดสรรผู้มีความรู้ผู้ชำนาญเชี่ยวชาญในการบรรเลงเล่นปฏิบัติทฤษฎีวิชาการได้ให้เป็นผู้นำหรือดาราดวงเด่น เพื่อเป็นต้นแบบสายทางดนตรีแต่ละประเภทดนตรีและภูมิภาคอาเขตในแหล่งประเทศนั้นๆ  

 

หนังสือเล่มนี้รวบรวมความรู้ครั้งสมัยเรียนปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา มาจนถึงปัจจุบัน หลักสูตร ก.ศ.บ.ป. หมายถึงการศึกษาบั้นปลายของชีวิตกระผม โดยมีคณาจารย์สายครุศาสตร์บัณฑิตโปรแกรมเอกดนตรีสากลหลักสูตร 5 ปี

 

 

 

ณัฐนพ อินทาภิรัต

 

 

 

 

 

ที่มา..............................................

 

ประวัติวัฒนธรรมดนตรีไทยในแหล่งสยาม

สมัยอมรวดีก่อนกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี

ชนไทยเดิมนั้น อพยพมาจากเขาอันไต ในพื้นดินเขตตอนกลางของแม่น้ำแยงซีเกียงเป็นที่ตั้งอาณาจักร ฌ้อพ.ศ. 310343 ของพระเจ้าฌ้อป๋าอ๋อง จากนั้น จีนได้นำเครื่องดนตรีจากถิ่นยูนานนี้ไป คือกลองน่านตังกูเหมือนกลองทัดไทยในปัจจุบัน และ แคนจีนมีใช้เมื่อ 3000 ปีแต่ไทยมีใช้มานานกว่า

สมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี

            เริ่มต้นประวัติศาสตร์ไทยในสมัยสมเด็จพ่อขุนรามคำแหงมหาราช จารึกในไตรภูมิพระร่วงไว้ว่า เสียงพาทย์ เสียงพิณ เสียงเลื้อน (คงหมายถึงเสียงเอื้อนทำนอง) เสียงขับ หมายถึงได้มีวงปี่พาทย์และวงเครื่องสาย (พิณ) เกิดขึ้น สรุปว่ามีเครื่องดนตรีครบถึง 4 ประเภทได้แก่ 1. เครื่องดีด, พิณ 2. เครื่องสี, ซอพุงต้อ 3. เครื่องตี, ระนาด ฆ้อง กลอง ฉาบ 4.เครื่องเป่า, แคน ขลุ่ย

สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี

            เป็นยุคดนตรีที่เจริญรุ่งเรืองเพราะประชาชนนิยม มีการเล่นกันอย่างกว้างขวางบางครั้งเกินขอบเขต มีเครื่องดนตรีฉิ่งกับจะเข้ เครื่องเคาะประกอบจังหวะ พิณทำจากน้ำเต้า ซอเสียงแหลม ซอเสียงกลาง ซอเสียงต่ำเพิ่มขึ้น พ. ศ.1991203ได้มีกฎมนเฑียรบาลไว้ว่า บาง ณ ประตูแสดงราม ห้ามขับกระจับปี่ร้องเพลงเรือ

สมัยกรุงธนบุรีเป็นราชธานี

            ในช่วงระยะเวลา 15 ปีของดนตรีไทย ประเทศได้ใช้เวลากู้บ้านบำรุงเมือง ดนตรีไทยในสมัยนี้ยังคงใช้แนวดนตรีอยุธยาตอนปลายยุค

 

   ค้นข้อมูลบางส่วนจากอาจารย์มนตรี ตราโมท ใน google วี พี เดีย

 

วัตถุประสงค์ให้รู้

2.1 เรื่องวิจักษณ์ศิลปินดนตรี Appreciation Of musical artistsในแหล่งสยาม

2.2 เรื่องการประยุกต์ใช้ดนตรีร่วมสมัย music contemporary application

2.3 เรื่องปฏิภาคดนตรี   Music sector

…………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………..

 

สมมติฐาน จากวัตถุประสงค์รวม

 

1. เพื่อให้รู้ ถึงความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับมนุษย์Music Humanism Relation (MHR)

      2. เพื่อให้รู้ ถึงสิ่งบันดาลใจในดนตรีพฤติกรรม Motive MusicBehavior(MMB)

 

ประโยชน์ที่ได้รับ

 

1. ให้รู้ถึงความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับมนุษย์

 

 

หมายเลขบันทึก: 551282เขียนเมื่อ 19 ตุลาคม 2013 13:00 น. ()แก้ไขเมื่อ 14 เมษายน 2014 10:14 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

ขอบคุณสายสัมพันธ์ของมนุษย์กับดนตรีที่บันดาลให้เกิดพฤติกรรมมนุษย์

วิชานากศิลป์และดนตรีกำลังจะถูกยกเลิกให้จากไปจากหลักสูตรการเรียนการสอนในโรงเรียนของกระทรวง

ดิฉันได้ข่าวเช่นนั้น ได้แต่เศร้าใจหากเป็นจริงดังข่าวก็คงมีข้อสงสัย ข้อสังเกต พฤติกรรมผู้นำของเจ้ากระทรวงต่อไป

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท