สรุปรวมแนวข้อสอบ การอบรมวิชาว่าความ ภาคทฤษฎี รุ่นที่30-40 เรื่อง การป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงิน


32/11.ความผิดอาญาที่พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 และกฎหมายอื่นกำหนดให้เป็นความผิดมูลฐาน ในปัจจุบันมี สิบเอ็ด มูลฐาน 

32/5. การฟอกเงินในความหมายตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 หมายถึง การกระทำในลักษณะการนำเงินหรือทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทำผิดมูลฐาน มาดำเนินการอย่างใดๆ เพื่อให้ดูเสมือนว่าได้มาโดยถูกต้องตามกฎหมาย หรือได้มาโดยสุจริต

34/3. เมื่อศาลรับคำร้องที่พนักงานอัยการยื่นต่อศาลเพื่อขอให้ศาลมีคำสั่งให้ทรัพย์สินนั้นตกเป็นของแผ่นดินตามมาตรา 49 พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินแล้ว ให้ศาลสั่งปิดประกาศไว้ที่ศาลนั้นและประกาศอย่างน้อย สองวันติดต่อกันในหนังสือพิมพ์ที่มีจำหน่ายแพร่หลายในท้องถิ่นเพื่อให้ผู้ซึ่งอาจอ้างว่าเป็นเจ้าของหรือมีส่วนได้เสียในทรัพย์สินมายื่นคำร้องขอก่อนศาลมีคำสั่ง 

35/14. คณะกรรมการธุรกรรมตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราบการฟอกเงิน  พ.ศ.2542 มีอำนาจสั่งให้ยึดหรืออายัดทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่องกับการ ทำความผิดไว้ชั่งคราว มาตรา 48 วรรคหนึ่ง ได้ไปเกิน เก้าสิบวัน 

 

38/19. ความผิดมูลฐานตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 2542 (กฎหมาย ปปง.) ท่านเข้าใจว่า. หมายถึงความผิดอาญาบางประเภทที่บัญญัติไว้ในมาตรา 3 ของบทนิยามว่า “ความผิดมูลฐาน” ซึ่งประกอบด้วยความผิดอาญา 9 ประเภท

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 549212เขียนเมื่อ 24 กันยายน 2013 23:29 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 กันยายน 2013 23:29 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท