โครงการการจัดการความขัดแย้ง


 

โครงการ  การจัดทำบล็อก(Blog)  เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ประจำปีการศึกษา  2556    ภาคเรียนที่  1

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

..........................................................................................

 

 1. ชื่อโครงงาน  การจัดการความขัดแย้งของสมาชิกสหกรณ์รถยนต์โดยสารพุทธมณฑล  จำกัด  จังหวัดนครปฐม

2. ผู้ดำเนินงาน  นางสาววิภาวัลย์      แสงงาม

3. หลักการและเหตุผล  

           สหกรณ์บริการมีส่วนในการช่วยส่งเสริมผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมของบรรดาสมาชิกโดยวิธีช่วยตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน  ซึ่งสหกรณ์รถยนต์โดยสารพุทธมณฑล  จำกัด  จังหวัดนครปฐม  มีสมาชิกทั้งสิ้น  154  คน  ปัญหาเรื่องความขัดแย้งย่อมเกิดขึ้นทั้งในองค์กรและระหว่างองค์กรอย่างแน่นอน  จึงต้องมีการจัดการความขัดแย้งเพื่อการดำรงชีวิตอย่างราบรื่นและสงบสุขของสมาชิก

4. วัตถุประสงค์ของโครงการ

                1. เพื่อศึกษาการจัดการความขัดแย้งของสมาชิกสหกรณ์รถยนต์โดยสารพุทธมณฑล  จำกัด  จังหวัดนครปฐม

                2. เพื่อเสนอแนวทางการปรับปรุงแก้ไขความขัดแย้งของสมาชิกสหกรณ์รถยนต์โดยสารพุทธมณฑล  จำกัด  จังหวัดนครปฐม

5. สถานที่ดำเนินงาน

                สหกรณ์รถยนต์โดยสารพุทธมณฑล  จำกัด  จังหวัดนครปฐม

6. เป้าหมายของโครงการ

                เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์รถยนต์โดยสารพุทธมณฑล  จำกัด  จังหวัดนครปฐม  จำนวน  154  คน  ได้มีแนวทางการปรับปรุงแก้ไขปัญหาความขัดแย้งได้อย่างมีประสิทธิภาพและดำเนินชีวิตกันอย่างสงบสันติสุข

7. ขั้นตอนวิธีการดำเนินงาน

                - เสนอหัวข้อโครงงานวิจัย

                - ศึกษาค้นคว้าเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

                - ออกแบบวิธีการวิจัย  จัดหาเครื่องมือและเก็บรวบรวมข้อมูล

                - ดำเนินการจัดเก็บข้อมูล

                - วิเคราะห์  อภิปรายผลและสรุปผลข้อมูล

8. ระยะเวลาดำเนินงาน

                ระยะเวลาในการดำเนินการ  1  ปี    เริ่มตั้งแต่วันที่  1  สิงหาคม  2556  -  31 กรกฎาคม  2557

9. แผนการดำเนินงาน

 

                                 เดือน

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

    การดำเนินงาน

56

56

56

56

56

57

57

57

57

57

57

57

1. จัดทำโครงร่างงานวิจัย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2. สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3. เก็บรวบรวมข้อมูล

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

4. วิเคราะห์ข้อมูล

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

5. แปลผลและเขียนรายงานวิจัย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 548872เขียนเมื่อ 21 กันยายน 2013 12:36 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 กันยายน 2013 12:36 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท