อัตราการหย่าร้าง


(ศุภชัย ปิติกุลตัง, 255X)
บทความไม่ได้ระบุปี แต่ดูจากการอ้างอิงแล้วน่าจะตีพิมพ์หลัง ปี พ.ศ. ๒๕๕๒

ผมหาข้อมูล สถานการณ์ครอบครัวไทย เจอะบทความหนึ่ง รวบรวมสถิติไว้ ... โห เยอะอ่ะ 
สงสัยมากๆ เลย ...
ไม่อยากแต่งงานกัน แล้วแต่งงานทำไม แต่งแล้วมาหย่ากัน ลูกๆ ก็เดือดร้อน 
หรืออยากแต่งงานกัน ในช่วงแรก ก็น่าจะทำแบบขั้นบันได
เหมือนประกันชีวิต มหา'ลัยรัฐ หอพัก และสหกรณ์ออมทรัพย์ ผสมกัน

เช่น

กำหนดระยะ ๑ ปี แรก ให้มาทบทวนเงื่อนไขกันใหม่ แต่งใหม่อีกรอบ (เหมือนต่อสัญญาพนักงานมหา'ลัย)

พอครบ ๓ ปี ก้อมาดูกันใหม่อีกรอบ ... ทำนองนี้น่ะ

แต่ถ้าต้องการ หย่า ภายใน ๑ ปีแรก ก็ให้ใช้วิธีการแบบ หอพัก คือ ยึดเิงินประกัน
ผสมกับแบบ สหกรณ์ คือ ห้ามแต่งานอีกในระยะ ๓ ปี ...

หมายเลขบันทึก: 547342เขียนเมื่อ 3 กันยายน 2013 22:10 น. ()แก้ไขเมื่อ 3 กันยายน 2013 22:13 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

มาอ่านแบบขำๆ ค่ะ 

ต้องขอโทษสถาบันครอบครัวแห่งชาติด้วยค่ะ 

ดิฉันเป็นอีกคนที่เพิ่มสถิตินี้โดยไม่ตั้งใจค่ะ

บางครั้งการเป็นนกอิสระก็แสนจะสุขใจ กว่าการเป็นนกน้อยในพันธนาการค่ะ

ผมเพิ่งจะสะกิดใจตัวเอง ว่า แซวสถิติแรงไปมั๊ย ... แรงไปครับ
ผมไม่ไ่ด้ตั้งใจพูดให้ร้าย หรือว่ากล่าว ผู้ที่ผ่านการ หย่า นะครับ ... 
ผมคิดว่าผมเข้าใจ เงื่อนไข การครองคู่ ที่เกิดขึ้นระหว่างทางครับ ...

เอาเป็นว่า ขำ ขำ นะครับ ^___^

อย่าคิดมากค่ะ

ทุกอย่างเป้นเรื่องธรรมดาค่ะ

ดิฉันขอบคุณทุกๆ เหตุการณ์ที่ผ่านมาเป้นบททดสอบ ให้เราได้สัมผัส….และขอบคุณตัวเองที่ผ่านมา ที่เข้มแข้งและผ่านมันมาได้ทุกเรื่อง อนาคตยังมาไม่ถึงช่างมันค่ะ

ทุกๆ วันมีความสุข หรือทุกข์บ้าง..นั่นล่ะชีวิตค่ะ ขอบคุณค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท