ตอนที่ 14 ยุทธศาสตร์หลัก ยุทธศาสตร์ย่อย(ความยุ่งยากของผลผลิต)


   

ตอนที่ 14

ยุทธศาสตร์หลัก ยุทธศาสตร์ย่อย(ความยุ่งยากของผลผลิต)

  จากตอนที่ 13 เมื่อกล่าวถึงความยุ่งยากของปัจจัยนำเข้า ( I ) ทำให้ปวดหัวมาแล้ว และเจาะลึกลงไปยังปัจจัยนำเข้า( I1-8 ) ของช่วงที่ 3 ในตอนที่ 13  คราวนี้ย้อนกลับมาที่ตัวผลผลิตบ้างว่าจะมีความยุ่งยากเหมือนกันหรือไม่

  ย้อนกลับมาที่ระบบยุทธศาสตร์การจำนำ/ขายข้าว ดังนี้

  

 โมเดลที่ 1 ระบบยุทธศาสตร์การจำนำ/ขายข้าว

  จากโมเดลที่ 1 จะพบว่า เงินค่าขายข้าวเป็นผลผลิตของระบบยุทธศาสตร์การจำนำ/ขายข้าว

อันดับแรก...ต้องคิดก่อนว่าเงินที่ต้องนำมาจ่ายให้ชาวนาเป็นค่าขายข้าวนั้นมาจากที่ใดและอย่างไร

พอคิดได้ว่าเงินค่าขายข้าวมาจาก พ่อค้าและตัวแทนของรัฐจึงเกิดระบบยุทธศาสตร์เล็กๆขึ้นก่อนคือ

  

โมเดลที่ 3 แสดงระบบยุทธศาสตร์การได้มาของปัจจัยนำเข้า

ถ้าเขียนโมเดลให้เห็นความสัมพันธ์ของระบบยุทธศาสตร์การได้มาของผลผลิต(เงินค่าขายข้าวของชาวนา)จะแสดงได้ดังนี้

                

ภาพที่ 1  แสดงความสัมพันธ์ของระบบยุทธศาสตร์ย่อยกับระบบยุทธศาสตร์หลักการได้มาของเงินค่าขายข้าว

จากภาพที่ 1 แจงระบบยุทธศาสตร์ย่อยเฉพาะ เงิน  ไม่ได้แจงเรื่องของ ตัวแทนรัฐและ พ่อค้า ลักษณะของระบบยุทธศาสตร์มีการเสริมแต่ละช่วงเป็นชั้นๆ

  จากภาพที่ 1 ขอให้ท่านผู้อ่านพิจารณาดูว่ามีระบบยุทธศาสตร์กี่ระบบในการสนับสนุนให้ได้เงินมาจ่ายค่าข้าวและต้องขออภัยที่แจงระบบยุทธศาสตร์ย่อยเฉพาะ เงิน  ไม่ได้แจงเรื่องของ ตัวแทนรัฐและ พ่อค้าและไม่สามารถแจงรายละเอียดได้ดีพอ


หมายเลขบันทึก: 542762เขียนเมื่อ 18 กรกฎาคม 2013 16:24 น. ()แก้ไขเมื่อ 18 กรกฎาคม 2013 16:48 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท