Evidence based practice in Bipolar disorder


             

              ช่วงฤดูร้อนที่ผ่านมา ข้าพเจ้านักศึกษากิจกรรมบำบัดได้มีโอกาสไปฝึกงานในฝ่ายจิต

ซึ่งทำให้ข้าพเจ้าได้เรียนรู้การทำงานกิจกรรมบำบัดในฝ่ายจิต  การเรียนรู้ศึกษาของข้าพเจ้า

คือการฝึกปฎิบัติทำจริง การแลกเปลี่ยนความรู้กับพี่ๆวิชาชีพต่างๆ เช่น จิตแพทย์, พยาบาล,

นักจิตวิทยาที่นี่สหวิชาชีพต่างๆทำงานรวมกันเป็นทีมได้ดีมาก และนอกจากนั้นข้าพเจ้าก็ได้

หาเอกสารอ้างอิงประกอบการให้เหตุผลทางคลินิกกิจกรรมบำบัดต่อไปเพื่อผลการรักษาที่ดีที่สุด

และยังเป็นการฝึกพัฒนาความรู้ความสามารถของตัวข้าพเจ้าอีกต่อไปด้วย

               โดยข้าพเจ้าขอเลือกกรณีศึกษาที่ข้าพเจ้าสนใจ และคาดว่าจะเป็นประโยชน์กับ

ผู้อ่านทุกๆท่านในการแลกเปลี่ยนความรู้ที่เกี่ยวข้องและความคิดเห็นเกี่ยวกับกรณีศึกษาค่ะ


Occupational Profile

ชื่อ  นาย ก.  ( นามสมมติ )   54 ปี

Dx.  Bipolar disorder

อาการสำคัญ   คิดเร็ว พูดเร็ว ใช้จ่ายเงินเก่ง หันเหความสนใจง่าย  ( Mania 

ความต้องการของผู้รับบริการ   อยากกลับไปประกอบอาชีพเดิม ( แพทย์ ), บทบาทพ่อดูแลลูก )


เอกสารอ้างอิงประกอบการให้เหตุผลทางคลินิกกิจกรรมบำบัด

ส่วนที่ 1 ทฤษฏีและวิทยาศาสตร์

1.  ความรู้เกี่ยวกับโรค ผลกระทบของโรค และกิจกรรมการดำเนินชีวิตของมนุษย์

Functional Impairment and Disability across Mood States in Bipolar Disorder

Adriane, R., MaríaErin, R., & Michalak, E. (2010). Functional Impairment and Disability 

across Mood States in Bipolar Disordervhe_768 984..988. Volume 13 984-988

Areas of functional impairment

1.  Autonomy      ความสามารถในการคิดหรือตัดสินใจด้วยตนเอง

2.  Occupational functioning  ความสามารถด้านการเรียนและการทำงาน

3.  Cognitive functioning  ความสามารถด้านการแก้ไขปัญหาและการเรียนรู้ใหม่ๆ

4.  Interpersonal relationships  การมีปฏิสัมพันธ์กับครอบครัวและเพื่อน

5.  Financial issues    ความสามารถในการวางแผนและใช้จ่ายการเงิน

6.  Leisure time    ความสามารถในการคงไว้ซึ่งกิจกรรมยามว่าง

โดยสรุปจากงานวิจัย : ช่วงผู้รับบริการมีอาการซึมเศร้าจะมี negative symptoms > mania

จากกรณีศึกษา  :  ผู้รับบริการมี negative symptoms ในความสามารถทั้ง 6 ด้านที่กล่าวมา

เช่น มีปัญหาด้านการทำงานเนื่องจากคิดเร็ว พูดเร็ว, มีปัญหาการวางแผนใช้เงิน เนื่องจากขาด

ความยับยั้งชั่งใจ และ การใช้เวลากับกิจกรรมยามว่างคือการเล่นดนตรีทั้งวัน 

ทำให้เกิด Occupational imbalance

การให้คะแนน PEDro scale ดังนี้

Internal Validity Score: 1/8      Statistical Reporting Score: 1/2

• Randomly allocated: No             • Between-group comparisons: Yes

• Concealed allocation: No            • Point estimates and variability: No

• Baseline comparability: Yes          Eligibility Criteria Specified: Yes

• Blind subjects: No 

• Blind therapists: No 

• Blind assessors: No 

• Adequate follow-up: No 

• Intention-to-treat: No


2.  กรอบอ้างอิงที่เหมาะสมในการอธิบายคุณค่าของวิชาชีพต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้รับบริการ

Functioning and disability in bipolar disorders: a systematic review   of literature using the ICF

VilaCarolina, Marı´a, C., Alarcos, C., & Eduard, V. (2010). Functioning and disability in 

bipolar disorders: systematic review of literature using the ICF as a reference. 473–482.


อธิบายการประเมินความสามารถของผู้รับบริการทำให้สหวิชาชีพมองผู้รับบริการเป็นภาพรวม

และเข้าใจตคงกันมากขึ้น ส่งผลให้การหาปัญหา และวางแผนการรักษารวมกันเป็นไปอย่างชัดเจน

การให้คะแนน PEDro scale ดังนี้

Internal Validity Score: 0/8            Statistical Reporting Score: 0/2

• Randomly allocated: No             • Between-group comparisons: No

• Concealed allocation: No            • Point estimates and variability: No

• Baseline comparability: No           Eligibility Criteria Specified: No

• Blind subjects: No 

• Blind therapists: No 

• Blind assessors: No

• Adequate follow-up: No

• Intention-to-treat: No


ส่วนที่ 2 กระบวนการให้เหตุผลทางคลินิก

The role of psychotherapy in bipolar disorder

Michael, B. (2010). The role of psychotherapy in bipolar disorder. Volume 193 s31-s35

จากงานวิจัยกล่าวถึงวิธีให้การรักษาในผู้รับบริการ Bipolar disorder โดยการไม่ใช่ยา

เช่น Psychoeducation, Cognitive behavior therapy, interpersonal and social rhythm,

family therapy  ซึ่งจากการศึกษางานวิจัยนี้เป็นประโยชนมากกับการนำมาประยุกต์ใช้กับกรณีศึกษา

การให้คะแนน PEDro scale ดังนี้

Internal Validity Score: 0/8            Statistical Reporting Score: 0/2

• Randomly allocated: No             • Between-group comparisons: No

• Concealed allocation: No            • Point estimates and variability: No

• Baseline comparability: No           Eligibility Criteria Specified: No

• Blind subjects: No 

• Blind therapists: No 

• Blind assessors: No

• Adequate follow-up: No

• Intention-to-treat: No


    


หมายเลขบันทึก: 541564เขียนเมื่อ 6 กรกฎาคม 2013 09:03 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กรกฎาคม 2013 10:10 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

ดิฉันเคยใช้หลักการจัดกิจกรรมบำบัดจิตเวชในการปรุงแต่งพฤติกรรมผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังมาหลายครั้งแล้ว สารภาพตามตรงว่าไม่มีความรู้ด้านนี้โดยตรง หาอ่านจาก lecture เก่าๆ ที่เก็บมาได้บ้าง จากเอกสารวิชาการเก่าๆ บ้าง  มาเห็น case study เรื่องนี้ แม้เป็นรายงานของ นศ. ไม่ได้ลึกซึ้งอะไรมากนักในด้านวิชาการ แต่นับว่ามีประโยชน์มาก อย่างน้อยก็นำไปเปรียบเทียบกับสิ่งที่ได้เรียนรู้มาก่อนหน้านี้ได้ เป็นการทำความเข้าใจขั้นพื้นฐาน หากมีโอกาสอ่านงานวิชาการหนักๆ จะช่วยให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น case study แบบนี้จึงมีคุณค่าในตัวเอง (real time)

ไม่มีความรู้มากพอจะช่วยแลกเปลี่ยน แต่จะคอยติดตามอ่านนะคะ ขอบคุณค่ะ

ขอบคุณมากนะค่ะ คุณดารนี ชัยอิทธิพร ยินดีอย่างยิ่งสำหรับการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นคะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท