มาตรฐานการฉัีดวัคซีน2


ตารางที่ 2 แสดง อาการและอาการแสดงของภาวะ anaphylaxis

Signs and Symptoms (อาการและอาการแสดง)

Frequency

(พบบ่อย (ร้อยละ))

Cutaneous (อาการทางระบบผิวหนัง)

- Urticaria and Angioedema (ลมพิษและ เยื่อบุตา จมูก ปากบวม)

- Flush (ตัวแดงจากการขยายตัวของหลอดเลือด)

- Pruritus without rash (คันตามผิวหนังโดยไม่มีผื่น)

>90

85-90

45-55

2-5

Respiratory (อาการระบบทางเดินหายใจ)

- Dyspnea, wheeze (หายใจลาบาก หายใจเสียงวี้ด)

- Upper airway angioedema (ทางเดินหายใจ ส่วนบนบวมซึ่งมักมีอาการคัดจมูก เสียงแหบ)

- Rhinitis (โพรงจมูกอักเสบ ซึ่งมักมีอาการคัน คัดจมูก หายใจไม่สะดวก)

40-60

45-50

50-60

15-20

Cardiovascular (อาการระบบหมุนเวียนโลหิต)

Dizziness, syncope, hypotension (วิงเวียน มึนศีรษะ หน้ามืดเป็นลม ความดันโลหิตต่ำ)

30-35

Abdominal (อาการระบบทางเดินอาหาร)

Nausea, vomiting, diarrhea, cramping pain

(คลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเหลว ปวดท้องบิด)

25-30

Miscellaneous (อาการอื่นๆ ที่พบ)

- Headache (ปวดศีรษะ)

- Substernal pain (เจ็บกลางหน้าอก)

- Seizure (ชัก)

5-8

4-6

1-2

ตารางที่ 3 แสดงความรุนแรง/ระยะการเปลี่ยนแปลง อาการและอาการแสดงของ Anaphylaxis

ความรุนแรง/ ระยะการเปลี่ยนแปลง

อาการอาการแสดงของ Anaphylaxis

Mild – สัญญาณเตือน

Late-life threatening signs/ symptoms

- คันที่ผิวหนัง มีผื่นและบวมรอบๆ ตำแหน่งที่ฉีด เวียนศีรษะ มึน รู้สึกร้อนผ่าวทั่วตัว

- มีบวมตามส่วนต่างๆ เช่น ปาก หรือหน้า มีผิวหนังแดง คันตามผิวหนัง คัดจมูก จาม และมีน้าตาไหล

- มีเสียงแหบ คลื่นไส้ อาเจียน

- บวมในลาคอ หายใจลำบาก ปวดท้อง

- หายใจมีเสียงวี๊ด เสียงอื๊ดเวลาหายใจเข้า หายใจลำบาก ความดันโลหิตต่ำ ชีพจรเบาเร็ว และอาจเต้นผิดปกติ มีภาวะช็อก ไม่รู้สึกตัว

การดูแลรักษาผู้ป่วย Anaphylaxis มีแนวทางดังแผนผังต่อไปนี้

แผนผังที่ 1 แนวทางการดูแลรักษา Anaphylaxis

ลำดับที่

กิจกรรมที่ดำเนินการ

มาตรฐานการดาเนินงาน

1.

การบันทึกข้อมูลผู้รับบริการ

1.1 รหัสวัคซีนที่ใช้ตรงตามรหัสมาตรฐานที่สานักนโยบายและยุทธศาสตร์กำหนด

1.2 มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการวัคซีนทุกชนิดเป็นรายบุคคลในแฟ้ม EPI ดังนี้

§ กลุ่มเด็กแรกเกิด : วัคซีน BCG และ HB แรกเกิด

§ กลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน : วัคซีน DTP-HB, DTP, OPV, MMR และ JE

§ กลุ่มเด็กนักเรียน ชั้น ป.1 : วัคซีน MMR (ทุกคน), dT, OPV, BCG

(ขึ้นกับประวัติการได้รับวัคซีนในอดีต)

§ กลุ่มเด็กนักเรียน ชั้น ป.6: วัคซีน dT

§ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์: วัคซีน dT

1.3 ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลการให้บริการให้ครบถ้วน ถูกต้อง เช่น Print out รายงานมาตรวจสอบกับทะเบียนให้บริการ หรือตรวจสอบจาก family folder เปรียบเทียบกับข้อมูลในคอมพิวเตอร์ เป็นต้น

1.4 บันทึกวันนัดรับวัคซีนครั้งต่อไป

1.5 ในกรณีที่ผู้รับวัคซีนไม่มาตามนัด ให้บันทึกเลื่อนนัดเพื่อรับวัคซีนครั้งต่อไป

1.6 เมื่อบันทึกข้อมูลผู้รับบริการวัคซีนครบทุกคนแล้วให้ Print out รายงานเก็บไว้

1.7 บันทึกรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบที่ได้รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น มาลงในคอมพิวเตอร์ โดยบันทึกสถานที่รับวัคซีนในช่อง ที่อื่น


หมายเลขบันทึก: 520139เขียนเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2013 15:22 น. ()แก้ไขเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2013 15:22 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท